Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/984
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธีรภัทร์ เสรีรังสรรค์th_TH
dc.contributor.authorญาณิสร ประสงค์, 2524-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-25T03:44:49Z-
dc.date.available2022-08-25T03:44:49Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/984-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ความเป็นมาของแนวคิดเกี่ยวกับการปกครองตนเอง ในจังหวัดปัตตานี (2) รูปแบบการปกครองตนเองที่เหมาะสมในจังหวัดปัตตานี (3) ผลดีและผลเสียของรูปแบบการปกครองตนเองในจังหวัดปัตตานี การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยศึกษาข้อมูลจากเอกสารที่เกี่ยวข้องและการสัมภาษณ์ แบบเจาะลึกกลุ่มตัวอย่างเลือกแบบเจาะจง จำนวน 5 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 2 คน กลุ่มนักวิชาการ จำนวน 6 คน กลุ่มผู้นำกลุ่มมุสลิมในพื้นที่ จำนวน 3 คน กลุ่มข้าราชการในพื้นที่ จำนวน 3 คน และกลุ่มสื่อมวลชนในท้องถิ่น จำนวน 3 คน รวมทั้งหมด 17 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์ การวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา และการบรรยายเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า (1) ความเป็นมาเกี่ยวกับการปกครองตนเองในจังหวัดปัตตานีเริ่มต้นเมื่อ คริสต์ศตวรรษที่ 13 นักประวัติศาสตร์รู้จักปัตตานีในนามของ ลังกาสุกะหรือลังกาโศกะ ต่อมาได้ทำสงครามกับสยามและพ่ายแพ้สงครามจึงตกเป็นเมืองขึ้นของสยามตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา โดยแบ่งการปกครองเป็น 7 หัวเมืองคือ เมืองปัตตานี เมืองยะลา เมืองยะหริ่ง เมืองระแงะ เมืองรามัน เมืองสายบุรี และเมืองหนองจิก ในตอนปลายของรัชกาลที่ 1 และแต่งตั้งผู้ครองหัวเมืองทั้งเจ็ดอยู่ภายใต้การควบคุมดูแลของสงขลา (2) รูปแบบการปกครองตนเองที่เหมาะสมในจังหวัดปัตตานี จะเป็นการปกครองที่เน้นความเป็นประชาธิปไตยอย่างแท้จริง เอื้อต่อความแตกต่างหลากหลายทางด้านวัฒนธรรม มีการกระจายอำนาจ ให้ท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการปกครอง สามารถตัดสินใจแก้ปัญหาในท้องถิ่นเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ (3) สำหรับผลดีและผลเสียของรูปแบบการปกครองตนเองในจังหวัดปัตตานี ผลดีทำให้การปกครองมีความเป็นประชาธิปไตยมากขึ้น การเมืองมีความโปร่งใส ความต้องการของประชาชนได้รับการตอบสนอง การเมืองการปกครองของ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เป็นการเมืองการปกครองที่เอื้อต่อผลประโยชน์ส่วนรวม เศรษฐกิจโปร่งใส สังคมเป็นหนึ่งเดียว คาดว่าผลเสียที่เกิดขึ้น อาจนำไปสู่การแบ่งแยกดินแดนในจังหวัดปัตตานีได้ซึ่งจะทำให้ชาวไทยพุทธไม่สามารถอยู่ในพื้นที่ได้ เพราะผู้นำจะเป็นมุสลิมและชาวไทยพุทธก็เป็นชนกลุ่มน้อยในสังคม เศรษฐกิจปัตตานีจะพึ่งตนเองได้ลำบากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.97en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการปกครองท้องถิ่น -- ไทย -- ปัตตานีth_TH
dc.subjectปัตตานี -- การเมืองและการปกครองth_TH
dc.titleแนวคิดและรูปแบบการปกครองตนเองในจังหวัดปัตตานีth_TH
dc.title.alternativeThe innovative idea and pattern of local self government in Pattani Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2012.97en_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of the research are to study (1) history background of idea concerning self government in Pattani Province (2) self government model suitable in Pattani Province (3) advantage and disadvantage of self government in Pattani Province This qualitative research is conducted by studying data from documents concerned. The intensive interview can work with 5 groups of sample, 17 persons selected and identified such as 2 experts, 6 researchers, 3 Muslim leaders, 3 officers and 3 mass media personais. The research instruments are such as questionnaires, context and descriptive data analysis The results of research can be found (1) the history background of self government in Pattani began in 13rd century. Pattani, renowned as Langasuga or Langasoga, defeated in the battle with Siam, then was under the sovereign of Siam. The 7 cities were governed in the late period of The King Rama I such as Pattani, Yala, Yaring, Raangae, Saiburi and Nongjig. They were under the control of Songkhla governor, (2) self government model suitable in Pattani will be really democratic, providing multi – culture difference, local decentralization and participating government, being able to solve local problems with efficiency, (3) advantage and disadvantage of self government, the politics, responsive public needs, more efficient rules of 3 southern border provinces, providing common profits, transparent politics, responsive public needs, more efficient rules of 3 southern border provinces, providing common profits, transparent economic and social unity. The disadvantage may be Buddhist-Thais can not live in the areas caused from dividing land in Pattani. Muslim leaders, ethnic Buddhist-Thais, self economy can not stand on the society. If the dividing land is severeen_US
dc.contributor.coadvisorยุทธพร อิสรชัยth_TH
Appears in Collections:Pol-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib130810.pdf22.35 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons