Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9857
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเบญจมาศ อยู่ประเสริฐ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorพรทิพย์ อุดมสิน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนงคราญ พิมพ์โคตร, 2504--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-10-02T08:32:10Z-
dc.date.available2023-10-02T08:32:10Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9857-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2549th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สภาพพื้นฐานทางสังคมและเศรษฐกิจของเกษตรกร ผู้ผลิตพืชผักในจังหวัดอุดรธานี (2) ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการยอมรับเทคโนโลยีการผลิตพืชผักปลอดภัยจาก สารพิษของเกษตรกรในจังหวัดอุดรธานี (3) ปัญหาในการผลิตพืชฝักปลอดภัยจากสารพิษของเกษตรกรใน จังหวัดอุดรธานี ผลการวิจัยพบว่า (1) เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุเฉลี่ย 48.92 ปี มีสถานภาพการ สมรส จบการศึกษาชั้นประถมศึกษา ส่วนใหญ่เป็นสมาชิกสถาบันเกษตรกร ไต้รับข้อมูลข่าวสารเทคโนโลยีการ ผลิตพืชผักปลอดภัยจากสารพิษจากเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร มีพืนที่ถือครองทำการเกษตรเฉลี่ย 14.14 ไร่ มี พื้นที่ปลูกฝักเฉลี่ย 2.49 ไร่ ในปี 2549 มีรายได้จากภาคเกษตรเฉลี่ย 90,212.45 บาท รายได้นอกภาคการเกษตร เฉลี่ย 33,659.19 บาท มีรายได้รวมเฉลี่ย 115,899.74 บาท และมีแรงงานเป็นแรงงานเกษตรเฉลี่ย 2.75 คน จำหน่ายผลผลิตโดยมีพ่อค้าคนกลางรับไปจำหน่าย (2) การยอมรับเทคโนโลยีการผลิตพืชฝักปลอดภัยจาก สารพิษของเกษตรกร เกษตรกรยอมรับระดับมากที่สุด 3 ด้านคือ ด้านการดัดเลือกพื้นที่ปลูก ด้านการชัดการดิน และปุ้ย ด้านการเก็บเกี่ยว ยอมรับระดับมากในด้านการเตรียมเมล็ดพันธุ์ ในระดับปานกลาง ด้านการป้องกัน และกำจัดศัตรูพืช (3) ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการยอมรับการผลิตพืชฝักปลอดสารพิษของเกษตรกร ได้แก่ อายุ การเป็นสมาชิกสถาบันเกษตรกร การรับข้อมูลข่าวสาร พื้นที่ปลูกฝัก จำนวนสมาชิกที่เป็นแรงงาน (4) เกษตรกรส่วนใหญ่มีปัญหาในระดับมากที่สุด ในประเด็น ปัญหาด้านปัจจัยการเพิ่มผลผลิตมีราคาแพง ปุ๋ย อินทรีย์ผลิตได้ไม่พอใช้ ปัญหาด้านการตลาด ขายผลผลิตไม่ได้ราคา ไม่มีที่จำหน่ายสินค้า และเสนอแนะให้ รัฐบาลได้มีการช่วยเหลือในด้านการหาปัจจัยการผลิต และมีการประกันราคาผลผลิตตลอดการรับซื้อผลผลิตที่มี คุณภาพเพื่อความยั่งยืนของเกษตรกรth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.135-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectผักปลอดสารพิษth_TH
dc.subjectเกษตรกร--ไทย--อุดรธานีth_TH
dc.subjectเทคโนโลยีการเกษตรth_TH
dc.titleปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการยอมรับเทคโนโลยีการผลิตพืชผักปลอดภัยจากสารพิษ ของเกษตรกรในจังหวัดอุดรธานีth_TH
dc.title.alternativeFactors ralating to an adoption of vegetable production technology for pesticide safety by farmers in Udon Thani Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2006.135-
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
100895.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.62 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons