Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/988
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปธาน สุวรรณมงคล | th_TH |
dc.contributor.author | ณัฏฐ์พิชชา บุญมา, 2521- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-25T04:26:17Z | - |
dc.date.available | 2022-08-25T04:26:17Z | - |
dc.date.issued | 2551 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/988 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ทำให้ผู้นำสตรีเข้ามามีบทบาททาง การเมืองระดับท้องถิ่น(2) เพื่อศึกษาบทบาททางการเมืองระดับท้องถิ่นของผู้นำสตรี (3 ) เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินบทบาททางการเมืองระดับท้องถิ่นของผู้นำสตรี และ (4) เพื่อเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรคตลอดจนข้อเสนอแนะอื่นๆ ที่สามารถนำไปพัฒนาบทบาททางการเมืองในระดับต่าง ๆ ของผู้นำสตรีในภายหน้าได้ การวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้คือ กลุ่มผู้นำสตรีที่ดำรงตำแหน่งต่าง ๆ ในเขตอำเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี จำนวน 20 คน เครึ่องมือที่ใช้เป็นบทสัมภาษณ์การเก็บรวบรวมข้อมูลจะใช้แบบปฐมภูมิ และแบบทุติยภูมิ แล้วนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ตามวิธีวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนาประกอบกับการหาค่สถิติร้อยละ ผลการวิจัย พบว่า (1) ปัจจัยที่ทำให้ผู้นำสตรีเข้ามามีบทบาททางการเมืองในระดับท้องถิ่นเกิดจากปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอก ปัจจัยภายในที่สำคัญ คือ การตัดสินใจด้วยตนเองการสนับสบุนจากสมาชิกในครอบครัว เพื่อนบ้าน ส่วนปัจจัยภายนอก คือ ความเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์บ้านเมือง (2) บทบาททางการเมืองในระดับท้องถิ่นของผู้นำสตรีที่สำคัญที่สุด ได้แก่การตระหนักในบทบาททาง การเมืองขั้นพื้นฐาน ได้แก่ การไปใข้สิทธิเลึอกตั้งตามระบอบประชาธิปไตย การร่วมรณรงค์เกี่ยวกับ การเลือกตั้ง (3) ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินบทบาททางการเมืองระดับท้องถิ่นที่เกิดขึ้น เกิดจาก ปัจจัยภายใน ที่สำคัญ คือ จากสมาชิกในครอบครัว เพื่อนบ้าน และเกิดจากปัจจัยภายนอกที่สำคัญ คือ สถานการณ์บ้านเมืองและการยึดติดเรื่องค่านิยมด้านเพสในอดีต โดยพบว่า ปัญหาและอุปสรรคในการ ดำเนินบทบาททางการเมืองที่สำคัญที่สุด ได้แก่ ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดจากสถานการณ์บ้านเมืองเพราะเป็นสิ่งที่แก้ไขได้ยากที่สุด (4) แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค หลักสำคัญที่ผู้นำสตรีส่วนใหญ่ยึดถึอในการดำเนินบทบาททางการเมืองระดับท้องถิ่น คือ ใช้หลักความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และแก้ไขปัญหาตามกระบวนการภายใต้หลักของเหตุผล ส่วนข้อเสนอแนะในการพัฒนาบทบาททางการเมืองของผู้นำสตรี คือ ให้เป็นผู้ที่ใฝ่หาความรู้ใส่ตนอยู่เสมอ และมีใจมุ่งมั่นต่อบทบาทที่กระทำ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | สตรีกับการเมือง | th_TH |
dc.subject | สตรีกับการเมือง -- ไทย -- ลพบุรี | th_TH |
dc.title | ผู้นำสตรีกับบทบาททางการเมือง : กรณีศึกษาในเขตอำเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | Women leaders and their political : a case study of Phatthana Nikhom District, Lop Buri Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | รัฐศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชารัฐศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were (1) to study factors that cause women to play a role in local politics; (2) to study the roles of women leaders in local politics; (3) to study problems and obstacles to women leaders taking a role in local politics; and (4) to propose recommendations to solve those problems. This was both a qualitative and quantitative research. The sample consisted of 20 women leaders working in various positions in Phatthana Nikhom District, Lop Bun Province. The research tool employed was an interview form. Both primary and secondary data were collected and analyzed descriptively and with statistics (means). The results showed that (1) both internal and external factors caused women leaders to take a role in local politics. The major internal factors were individual decision making and the support of family members and neighbors. The major external factor was changes in the national political situation. (2) The most important role of women leaders in local politics was to raise awareness of fundamental political roles, i.e. using voting rights and participating in electoral campaigns. (3) The main problems and obstacles to women taking a role in local politics arose from the internal factors of family members and neighbors and from the external factors of the political situation in the country and adherence to traditional values about the roles of the genders. (4) Recommendations for solving these problems are for women leaders to use their knowledge, abilities and experiences to solve the problems in a reasoned manner, following normal procedures. Recommendations for developing the political roles of women leaders are to encourage women to continually learn and educate themselves and to be perseverant and dedicated to their roles | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ฐปนรรต พรหมอินทร์ | th_TH |
Appears in Collections: | Pol-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesbib114937.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 4.56 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License