Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9896
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมจิต โยธะคง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุนันท์ สีสังข์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกฤษฎิน คำตัน, 2513--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-10-04T04:10:25Z-
dc.date.available2023-10-04T04:10:25Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9896-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2549th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สภาพพื้นฐานทางสังคมและเศรษฐกิจของสมาชิก แปลงขยายพันธุ์ (2) ความรู้พื้นฐานและแหล่งความรู้ของสมาชิกแปลงขยายพันธุ์ (3) ทัศนคติของสมาชิกแปลง ขยายพันธุ์ (4) ศักยภาพในการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวขาวดอกมะลิ105 ของสมาชิกแปลงขยายพันธุ์ (5) ปัญหาและข้อเสนอแนะในการเข้าร่วมโครงการแปลงขยายพันธุ์ข้าว เป็นการวิจัยแบบสำรวจ ผลการวิจัยพบว่า(1) เกษตรกรส่วนมากเป็นเพศหญิง มีอายูเฉลี่ย 46.90 ปี จบการศึกษาภาค บังคับ มีสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 4.43 คน มีประสบการณ์ในการทำนาเฉลี่ย 27.08 ปี มีประสบการณ์ในการผลิต เมล็ดพันธุ์เฉลี่ย 2.93 ปี มีจำนวนแรงงานในครัวเรือนเฉลี่ย 2.50 คน มีพื้นที่ทำการเกษตรเฉลี่ย 38.96 ไร่ มีพื้นที่ จัดทำแปลงขยายพันธุ์ข้าวเฉลี่ย 17.63 ไร่ รายได้เฉลี่ย 172,761.90 บาท (2) เกษตรกรส่วนใหญ่มีความรู้พื้นฐาน เกี่ยวกับข้าวขาวดอกมะลิ 105 และการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว เกษตรกรได้รับความรู้จากเจ้าหน้าที่ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าว นครราชสีมามากที่สุด (3) เกษตรกรมีระดับทัศนคติมากต่อการผลิตเมล็ดพันธุข้าวขาวดอกมะลิ 105 โดยประเด็นมี ความรักในอาชีพทำนามีระดับทัศนคติมากสูงสุด (4) เกษตรกรมีศักยภาพในระดับมาก โดยเฉพาะศักยภาพด้านการสนับสนุนของศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวนครราชสีมา (5) เกษตรกรส่วนใหญ่มีปัญหาด้านความอุดมสมบูรณ์ของดิน ข้อเสนอแนะ ต้องการให้ศูนย์เมล็ดพันธุข้าวฯ ซื้อคืนเมล็ดพันธุ์ในราคาที่สูงกว่าที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน ผลการ ทดสอบสมมติฐาน พบว่า จำนวนแรงงานในครัวเรือน มีความสัมพันธ์ในเชิงบวกกับศักยภาพของเกษตรกรสมาชิก แปลงขยายพันธุ์ข้าวต่อการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวขาวดอกมะลิ 105 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.199-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectข้าวขาวดอกมะลิ 105--เมล็ดพันธุ์--การผลิตth_TH
dc.titleศักยภาพในการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวขาวดอกมะลิ 105 ของสมาชิกแปลงขยายพันธุ์ของศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวนครราชสีมา ในอำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมาth_TH
dc.title.alternativePotentials in Khoa Dawk Mali 105 rice seed production by the seed expansion project members of Nakhon Ratchasima Rice Seed Center in Phimai District, Nakhon Ratchasima Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2006.199-
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
110136.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.73 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons