Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/989
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorฐปนรรต พรหมอินทร์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorเสนีย์ คำสุข, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorดรุณี กุลวงศ์, 2505--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-25T05:34:30Z-
dc.date.available2022-08-25T05:34:30Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/989-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2549th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาถึงปัจจัยที่สนับสบุนการเป็นฐานคะแนนเสียงเลือกตั้งของสตรีในชุมชนเขตเทศบาลนครอุดรธานี (2) เพื่อศึกษาถึงบทบาท และวิธีการในการเป็นฐานคะแนนเสียงเลือกตั้งของสตรีในชุมชนเขตเทศบาลนครอุดรธานี (3) เพื่อศึกษาถึงแนวโน้มในอนาคตของสตรีในชุมชนเขตเทศบาลนครอุดรธานีในการเป็นฐานคะแนนเสียงเลือกตั้ง กลุ่มตัวอย่างคือ กลุ่มประชากรที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป ในชุมชนเขตเทศบาลนครอุดรธานี จำนวน 398 คน โดยใช้แบบสอบถาม และกลุ่มสตรีที่ดำรงตำแหน่งประธานชุมชนในเขตเทศบาลนครอุดรธานี จำนวน 33 คน โดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก การเก็บรวบรวมข้อมูลแบบปฐมภูมิและแบบทุติยภูมิ แล้วนำข้อมูลมาวิเคราะห์เป็นตัวเลขค่าสถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานและใช้ค่าสถิติไคสแควร์ และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า (1) อายุ การศึกษา อาชีพ และรายได้ ไม่เป็นปัจจัยที่สนับสนุนการ เป็นฐานคะแนนเสียงเลือกตั้งของสตรี แต่เครือญาติ เป็นปัจจัยที่สนับสนุนการเป็นฐานคะแนนเสียงเลือกตั้งของสตรีในชุมชนเขตเทศบาลนครอุดรธานี (2) บทบาทผู้เป็นฐานคะแนนเสียงเลือกตั้งจะทำหน้าที่ในการประสานงานกับแกนนำในชุมชนโดยตรง และจะใช้วิธีการแจกใบปลิว ใบแนะนำตัว และติดโปสเตอร์ของผู้สมัครรับเลือกตั้ง (3) สตรีที่จะเป็นฐานคะแนนเสียงเลือกตั้งในเขตเทศบาลนครอุดรธานี ควรมีมนุษยสัมพันธ์เข้ากับประชาชนในชุมชุนได้ดี และส่วนใหญ่ให้การสนับสนุนสตรีในชุมชนเขตเทศบาลนครอุดรธานีเป็นฐานคะแนนเสียงเลือกตั้งth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.253en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสตรีกับการเมืองth_TH
dc.subjectสตรีกับการเมือง -- ไทย -- อุดรธานีth_TH
dc.subjectการเลือกตั้งth_TH
dc.titleการเป็นฐานคะแนนเสียงเลือกตั้งของสตรี : ศึกษากรณีในชุมชนเขตเทศบาลนครอุดรธานีth_TH
dc.title.alternativeWomen as election voting bases : a case study of Udon Thani Municipalityth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2006.253en_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study (1) supporting factors that enabled women to be voting bases in Udon Thani Municipality; (2) the roles and methods of female to be voting bases in Udon Thani Municipality; and (3) future trends for female to be voting bases in UdonThani Municipality. ธhe research was based on a sample population of 398 residents of Udon Thani Municipality aged 18 and over, from whom data were collected using a questionnaire, and 33 women who were community chairmen in Udon Thani Municipality, from whom data were collected using in-depth interviews. After preliminary and secondary data collection, data were analyzed using percentage, mean, standard deviation and Chi Square, as well as content analysis. The research findings were (1) Age, education, occupation and income were not supporting factors that enabled women to be voting bases, but family relations were a supporting factor that enabled women in Udon Thani Municipality to be voting bases; (2) The major role of the voting bases was to coordinate directly with the community leaders. The methods they used were handing out leaflets and introductory cards of the candidates and putting up posters; and (3) Women who want to be voting bases in Udon Thani Municipality should have good human relations skills and should get along well with the people in the community. The majority of the sample population supported the idea of having women work as voting bases in their communityen_US
Appears in Collections:Pol-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib100825.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.04 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons