Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9900
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พรทิพย์ อุดมสิน, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | ภรณี ต่างวิวัฒน์, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | ศักดิ์ชัย ศรีสุวรรณ, 2501- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-10-11T03:50:47Z | - |
dc.date.available | 2023-10-11T03:50:47Z | - |
dc.date.issued | 2549 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9900 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2549 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเกษตรกรผู้ผลิตข้าวเจ้าไม่ไวแสง ตำบลบางเสาธง กิ่งอำเภอ บางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ ดังนี้ (1) สภาพทางสังคมและเศรษฐกิจ (2) การผลิตข้าวเจ้าไม่ไวแสง (3 ) ปัญหาและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการผลิตข้าวเจ้าไม่ไวแสง ผลการวิจัยพบว่า (1) สภาพทางสังคมและเศรษฐกิจ เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นเพศชาย จบการศึกษา ระดับประถมศึกษา อายุเฉลี่ย 49.8ปี มีจำนวนสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 4.1 คน และมีแรงงานที่ใช้ในการผลิตข้าว เฉลี่ย 2.2 คน มีพื้นที่ผลิตข้าวเจ้าไม่ไวแสงเฉลี่ย 27.2 ไร่ เกษตรกร ส่วนใหญ่ เช่าพื้นที่เพื่อผลิตข้าว แหล่งเงินทุนที่ ใช้ในการผลิตข้าวคือเงินทุนของเกษตรกรเอง เกษตรกรนิยมขายผลผลิตให้แก่พ่อค้าที่มารับซื้อถึงแปลงนา (2) การผลิตข้าวเจ้าไม่ไวแสงของเกษตรกรตามเทคโนโลยีการผลิตข้าวเจ้าไม่ไวแสง ใน 7 ด้าน ปรากฎว่า 1) ด้านการ เตรียมเมล็ดพ้นธุมีการจัดหาเมล็ดพันธุจากแหล่งที่เชื่อถือได้ และทดสอบความงอกของเมล็ดก่อนทุ้มข้าวและ หว่านในอัตรา 15-20 กิโลกรัมต่อไร1 2) ต้านการเตรียมคน เกษตรกรไถดะและ ไถแปร เพื่อปรับสภาพพื้นที่และ กำจัดวัชพืชพร้อมปรับปรุงดิน 3) ต้านการปลูก เกษตรกรเริ่มปลูกในเดือนพฤศจิกายน และเก็บเกี่ยวตามอายุของ ข้าว คือ เดือนมีนาคม ถึงเดือนเมษายน ของปีต่อไป 4) ต้านการดูแลรักษา เกษตรกรควบคุม สำรวจการปนของ พันธุข้าวอื่น และกำหนดช่วงเวลาของการใช้ใ]ยตามคำแนะนำ 5) ด้านการกำจัดวัชพืชมีการสำรวจการระบาดของ วัชพืชเป็นระยะ ๆ พร้อมกำจัด โดยทำความสะอาดเมล็ดพันธุ์ข้าว 6) ด้านการป้องกันกำจัดโรค แมลง และสัตว์ ศัตรูพืช เกษตรกรใช้สารเคมีเป็นส่วนมาก 7) การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว เกษตรกรเก็บเกี่ยวด้วย เครื่องเกี่ยวนวดและเก็บเกี่ยวในระยะพลับพลึง และจำหน่ายพ้นทีในพื้นที่ ส่วนเมล็ดที่เก็บไวัทำพันธุจะตากลด ความชื้นก่อนเก็บ (3) ปัญหาและข้อเสนอแนะพบว่าเกษตรกรปฏิบัติตามเทคโนโลยีการผลิตข้าวได้ไม่ครบทุก ขั้นตอนเนื่องจากขาดแรงงานและมีเวลาปฏิบัติงานในนาข้าวน้อย จึงควร รวมกลุ่มเกษตรกรผู้ทำนาและ แนะนำ ให้ปฏิบัติตามเทคโนโลยีการผลิตข้าวให้ลูกต้องและครบทุกขั้นตอน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.87 | - |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ข้าว--การปลูก--ไทย--สมุทรปราการ | th_TH |
dc.subject | เกษตรกร--ไทย--สมุทรปราการ | th_TH |
dc.title | การผลิตข้าวเจ้าไม่ไวแสงของเกษตรกรตำบลบางเสาธง กิ่งอำเภอบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ | th_TH |
dc.title.alternative | The Photoperiod insensitive rice production by farmers in Bang Saothong Sub-District, Bang Saothong District, Samut Prakan Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2006.87 | - |
dc.degree.name | เกษตรศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
Appears in Collections: | Agri-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
110176.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 2.95 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License