Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9909
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรรณธรรม กาญจนสุวรรณ,th_TH
dc.contributor.authorกฤตติภูมิ หอมหวล, 2508-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-10-11T08:06:05Z-
dc.date.available2023-10-11T08:06:05Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9909en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ของการศึกษาเพื่อ จัดทำเป็นตำราทาง วิชาการ ซึ่งจะสามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการศึกษา และจัดทำยุทธศาสตร์ความมั่นคงแห่งชาติ และยุทธศาสตร์ทหารแห่งชาติต่อไป ดังนั้นผลการศึกษาจึงเป็นการประมวลหลักการพื้นฐานทางยุทธศาสตร์ ครอบคลุม จากวิวัฒนาการและความเป็นมาทางยุทธศาสตร์ นำไปสู่การทำความเข้าใจความหมาย แนวคิด และ ทฤษฎีของยุทธศาสตร์ เชื่อมโยงกับความมั่นคงแห่งชาติ โดยการนำเสนอการศึกษาสงครามซึ่งเป็นภัย คุกคามต่อความมั่นคงแห่งชาติทั้งในรูปแบบเดิม และรูปแบบใหม่ ตลอดจนชี้ให้เห็นความสัมพันธ์ ระหว่างความมั่นคงแห่งชาติกับยุทธศาสตร์ชาติ และการกำหนดกรอบแนวทางการกำหนดยุทธศาสตร์ ชาติ โดยมีพลังอำนาจแห่งชาติ เป็นเครื่องมือหลักในการกำหนดยุทธศาสตร์ความมั่นคงแห่งชาติ นอกจากนี้ได้นำเสนอกระบวนการกำหนดนโยบายความมั่นคงแห่งชาติ ซึ่งเป็นทิศทางสำคัญ สำหรับการกำหนดยุทธศาสตร์อย่างเป็นระบบ โดยก่อกำเนิดจากปฏิสัมพันธ์ของผู้บริหารระดับสูง ระหว่างฝ่ายการเมือง กับฝ่ายทหาร นำไปสู่ยุทธศาสตร์ความมั่นคงแห่งชาติที่มีประสิทธิภาพ พร้อม ทั้งการนำเสนอแนวคิดความสัมพันธ์ระหว่างฝ่ายการเมืองกับฝ่ายทหารในมิติด้านความมั่นคง และ แนวความคิดในการใช้กำลัง และการพัฒนาโครงสร้างกำลังของกองทัพบก เพื่อตอบสนองความ มั่นคงแห่งชาติth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการเมืองการปกครอง--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectความมั่นคงแห่งชาติ--ไทยth_TH
dc.subjectนโยบายการทหาร--ไทยth_TH
dc.titleหลักพื้นฐานยุทธศาสตร์ความมั่นคงแห่งชาติในมุมมองของฝ่ายทหารth_TH
dc.title.alternativeNational security fundamental within militants' perspectivesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis individual study aims to develop a manual for security and military strategy making process. The study analyzed the revolution of national security strategy concepts in order to determine the fundamental security strategic principles and guideline of national security based on the impacts of changes of world order. The fundamental strategic principles were analyzed covering strategic background and revolution. The author, then, proceed the understanding on its meanings, concepts and strategic theory that linked to the national strategy. The traditional and non-traditional warfare were presented to indicate relationships between the security and strategy of the nation. The national power was the main factor using to define national security. In addition, the systematically process was applied to indicate national security policy. This process derived from interactions between the politic and military executives which then modeled the effective national strategy. The security concepts on relationships between the politics and military were presented. Finally, concepts that served the national security relating to the employment of force and development of the army force were indicated.en_US
Appears in Collections:Pol-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
150004.pdfเอกสารฉบับเต็ม37.49 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons