Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9912
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธนศักดิ์ สายจำปาth_TH
dc.contributor.authorกัมปนาท ระมั่ง, 2524-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-10-12T02:44:30Z-
dc.date.available2023-10-12T02:44:30Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9912en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (๒) บทบาทของชื่อสังคมออนไลน์ในการเคลื่อนไหวตรวจสอบโครงการรับจำนำข้าวของรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร พ.ศ.ศ. 25557 (2) การเชื่อมโยงของสื่อสังคมออนไลน์สู่สังคมอ๊อฟไลน์ ในการเคลื่อนไหวตรวจสอบโครงการรับจำนำ ข้าวของรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร พ.ศ. 2554-2557 และ (3) ข้อจำกัดของสื่อสังคมออนไลน์ในการเคลื่อนไหวตรวจสอบโครงการรับจำนำข้าวของรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร พ.ศ. 2554-2557 วิธีดำเนินการวิจัย ศึกษาจากการเก็บข้อมูลภาคสนาม โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพโดยการศึกษาจากเอกสาร การสังเกตการณ์ และการสัมภาษณ์โดยมีประชากรวิจัย ได้แก่ สื่อสังคมออนไลน์ ที่เปิดให้บริการพื้นที่การสนทนาทางการเมืองและบุคคลที่มีการสื่อสารข่าวสารทางการเมืองบนสื่อสังคมออนไลน์เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในประเด็นโครงการรับจำนำข้าวของรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร พ.ศ. 2554-2557 และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา และ การวิเคราะห์ เชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า (1) บทบาทของสื่อสังคมออนไลน์ส่วนใหญ่มุ่งไปที่ประเด็นการทุจริตคอร์รัปชั่นในการรับจำนำข้าว มีการนำเสนอข้อมูลมูลข่าวสารการทุจริตในโครงการดังกล่าวตามสื่อสังคมออนไลน์ ได้แก่ เว็บบล็อก ทวิตเตอร์ เฟซบุ๊กและยูทูป ผู้ใช้สื่อสังคมออนไลน์มีสองลักษณะคือ ลักษณะการใช้สื่อสังคมออนไลน์ในเชิงให้การสนับสนุนใครงการรับจำนำข้าวของรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และลักษณะการใช้สื่อสังคมออนไลน์ในเชิงต่อต้านโครงการรับจำนำนำข้าว (2) ผู้ใช้สื่อสังคมออนไลน์ส่วนใหญ่ได้รับข่าวสารเกี่ยวกับการทุจริตรับจำนำข้าวที่มีการเผยแพร่และส่งต่อกันมาทางเฟซบุ๊ก และยูทูป เมื่อมีการส่งต่อข้อมูลเกี่ยวกับโครงการรับจำนำข้าวในสื่อสังคมออนไลน์มากขึ้น และเกิดการเรียกร้องให้เกษตรกรออกมาชุมนุมกดดันรัฐบาลผ่านสื่อสังคมออนไลน์ จนนำไปสู่การเชื่อมโยงให้เกิดกิจกรรมทางการเมืองแบบอ๊อฟไลน์ (3) มีข้อจำกัดในการสื่อสารผ่านสื่อสังคมออนไลน์ที่ข้อมูลมีความหลากหลายทำให้ถูกบิดบือนจากความเป็นจริงจนเกิดความสบสนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการเมืองการปกครอง --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสื่อมวลชนกับการเมืองth_TH
dc.subjectสื่อสังคมออนไลน์th_TH
dc.subjectรัฐบาล--สมัยยิ่งลักษณ์ ชินวัตร--ไทย--2554-2557th_TH
dc.titleบทบาทของสื่อสังคมออนไลน์ในการเคลื่อนไหวตรวจสอบโครงการรับจำนำข้าว ของรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร พ.ศ. 2554-2557th_TH
dc.title.alternativeThe role of social media in monitoring rice mortgage scheme Yingluck's Government Case in 2011-2014en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research are threefold: (1) to study the role of social media in monitoring rice mortgage scheme under Yingluck’s Government from 2011 to 2014; (2) to examine the relationship between online social media and offline society participation in monitoring rice mortgage scheme; and (3) to determine the limitation of online social media in monitoring rice mortgage scheme. Qualitative approach was applied in this research. Data collection was gathered from literature review, observation and interview. The research population included; social media, which provided online communication space to discuss about political issues; interpersonal communication, and online political news, in order to exchange opinions about the issue on monitoring rice mortgage scheme. Then, the qualitative data were analyzed through content and descriptive analyses. This research finds that the role of social media was to present information on corruption of rice mortgage scheme through social media such as Weblog, Twitter, Facebook, and YouTube. There were two types of social media users including user who support the rice mortgage scheme through social media and who are against. Most of the social media users received and shared the information on corruption of rice mortgage scheme through Facebook and YouTube. After the information on corruption of rice mortgage scheme was widely shared on social media, the information of online social media transferred to offline society participation resulting in the farmer put pressure on the Thailand's government. The limitation of online social media was an information overloadleading to further confusion.en_US
Appears in Collections:Pol-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
152096.pdfเอกสารฉบับเต็ม7.96 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons