Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9914
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปธาน สุวรรณมงคล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพรรณี จารุสมบัติ, 2500--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-10-12T07:01:03Z-
dc.date.available2023-10-12T07:01:03Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9914-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสิทธิผู้บริโภคตามรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 และการดำเนินงานของรัฐในการให้ความคุ้มครองสิทธิผู้บริโภค (2) ศึกษาปัญหา อุปสรรค ในการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่กรุงเทพมหานคร (3) ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการนำนโยบายการคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่กรุงเทพมหานครไปปฏิบัติ (4) เสนอแนะ แนวทางการให้ความคุ้มครองสิทธิผู้บริโภคตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2550 ผลการศึกษาพบว่า (1) ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2550 มีการให้ ความสำคัญแก่สิทธิผู้บริโภค ซึ่งได้บัญญัติถึงสิทธิของผู้บริโภคให้ในมาตรา 61 โดยมีการจัดตั้งสำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคขึ้นมาดูแลงานด้านนี้ และยังมีหน่วยงาน สนับสนุนและ ดำเนินงานเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค กระจายตัวอยู่ในหน่วยงานต่างๆ ซึ่งภาครัฐได้มีการให้ ความคุ้มครองสิทธิผู้บริโภคอย่างเต็มที่ ทั้งมาตรการในเชิงแก้ไข เยียวยา และมาตรการเชิงรุกเพื่อ ป้องกันการเกิดปัญหา ซึ่งเป็นไปตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 (2) ปัญหา อุปสรรคในการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่กรูงเทพมหานคร คือ ปัญหาต้านทรัพยากร ของหน่วยงานทั้งด้านงบประมาณและบุคลากร รวมทั้งปัญหาในการรับรู้และปกป้องสิทธิผู้บริโภค ซึ่งพบว่ามีการละเลยการปกป้องสิทธิของผู้บริโภคเอง เมื่อถูกละเมิดสิทธิ โดยคิดว่าการร้องเรียนมี ความยุ่งยากและเสียเวลา อีกทั้งจากความเชื่อของสังคมไทยในเรื่องของกรรมและการให้อภัย (3) ปัจจัย สำคัญที่ส่งผลต่อนโยบายการคุ้มครองสิทธิผู้บริโภค ได้แก่ ความสัมพันธ์ระหว่างกลไกภายใน หน่วยงานและระหว่างหน่วยงาน ลักษณะของหน่วยงานที่นำนโยบายไปปฏิบัติ และความพอเพียงของ ทรัพยากร (4) ข้อเสนอแนะคือ การสร้างการมีส่วนร่วมของภาคส่วนที่เกี่ยวข้องทั้งฝ่ายคุ้มครองสิทธิ ผู้ประกอบธุรกิจ และผู้บริโภค รวมทั้งการผลักคันให้เกิดองค์การอิสระเพื่อคุ้มครองผู้บริโภคth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการคุ้มครองผู้บริโภค--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ--ไทยth_TH
dc.subjectการคุ้มครองผู้บริโภค--ไทยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การเมืองการปกครองth_TH
dc.titleการคุ้มครองสิทธิผู้บริโภคตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550th_TH
dc.title.alternativeConsumer protection rights under the Constitution of the Kingdom of Thailand B.E. 2550en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Pol-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
139538.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.58 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons