Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9917
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ยุทธพร อิสรชัย | th_TH |
dc.contributor.author | ธีรายุทธ ทองสุข, 2521- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-10-12T07:21:00Z | - |
dc.date.available | 2023-10-12T07:21:00Z | - |
dc.date.issued | 2555 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9917 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัดอุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สภาพพื้นที่สาธารณะระบบอินเตอร์เน็ต (2) การแสดงความคิดเห็นทางการเมืองในพื้นที่สาธารณะบนระบบอินเดอร์เน็ต (3) การใช้อำนาจรัฐในการกำกับดูแลพื้นที่สาธาธารณะบนระบบอินเตอร์เน็ตการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ประชากรวิจัย คือ เว็บไซต์ที่เปิดให้บริการกระดานสนทนาการเมือง จำนวน 3 เว็บไซต์ คือ www.pantip.com www.manager.co.th www.prachatai.com วิเควาะห์และ น้ำเสนอข้อมูลแบบพรรณา ผลการศึกษาพบว่า (1) กระดานสนทนาการเมืองมีลักษณะความเป็นพื้นที่สาธารณะ และเป็นการสื่อสารทางการเมืองระหว่างกลุ่มผู้ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งมีความสัมพันธ์กับการเมืองปัจจุบัน และยังมีผลต่อความเปลี่ยนแปลงทางสังคม (2) การแสดงความคิดเห็นทางการเมืองมีอยู่ 2 ลักษณะ คือ การสนับสนุน การต่อด้าน และยังมีการหยิบยกวาทกรรมทางการเมืองเข้ามาใช้ในการแสดงความคิดเห็นทางการเมือง (3) รัฐมีการใช้อำนาจโคอการปิดกั้นการเข้าถึง และใช้มาตรการทางกฎหมาย โดยมีหน่วยงานรับผิดชอบโดยตรง ซึ่งมีผลกระทบต่อกระคานสนทนาการเมืองและผู้ใช้งานทั่วไป | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | การเมือง | th_TH |
dc.subject | อินเทอร์เน็ตในการบริหารรัฐกิจ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--การเมืองการปกครอง | th_TH |
dc.title | การเมืองในพื้นที่สาธารณะบนระบนอินเตอร์เน็ต | th_TH |
dc.title.alternative | Politics in public spaces on the internet | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | รัฐศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชารัฐศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were to study (1) the condition of public spaces on the Internet; (2) the expression of political opinions on public spaces on the Internet; and (3) the use of state power in regulating public spaces on the Internet. This was a qualitative research. The sample population consisted of 3 websites that run political discussion webboards: www.pantip.com, www.manager.co.th, and www.prachatai.com. Data were analyzed and presented descriptively. The results showed that (1) The political discussion webboards were public spaces that enabled political communication among groups of interested participants; they were related to current politics and could effect social change. (2) There were 2 main forms of expression of political opinions: support or opposition. People also brought up political discourse when expressing their political views. (3) The government used its power to block access to political webboards and used legal measures via a directly responsible agency. This impacted the political webboards and their users. | en_US |
Appears in Collections: | Pol-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
135806.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 9.69 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License