Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9919
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุรีย์ เข็มทอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสายนภา เทพจันทร์-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-10-12T08:05:18Z-
dc.date.available2023-10-12T08:05:18Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9919-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาพฤติกรรมการใช้บริการของผู้ป่วยแผนก ผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลหาดใหญ่ (2) ศึกษาการรับรู้คุณภาพบริการของผู้ป่วย แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลหาดใหญ่ และ (3) เปรียบเทียบการรับรู้คุณภาพบริการตามปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ป่วย ต่อแผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลหาดใหญ่ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือผู้มารับบริการที่แผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลหาดใหญ่ จํานวน 7,000 คน ขนาดกลุ่มตัวอย่างคํานวณโดยสูตรทาโร ยามาเน่ได้จํานวน 400 คน ใช้วิธีการ เลือกตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มตัวอยางแบบโควต้า เครื่องมือที่ใช้การรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วย สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวน ทางเดียว และเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยรายคู่โดยใช้แอล เอส ดี ผลการศึกษาพบว่า (1) พฤติกรรมการใช้บริการของแผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลหาดใหญ่ พบว่า ผู้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจเลือกใช้บริการ คือ ตนเอง และเหตุผลที่ตัดสินใจเลือกมาใช้บริการ คือ มีสิทธิเบิกได้ ส่วนใหญ่ใช้สิทธิบัตรทองในการจ่ายค่ารักษาพยาบาล และเดินทางโดยรถส่วนตัว (2) การรับรู้ของผู้รับบริการต่อคุณภาพการบริการของแผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลหาดใหญ่โดยรวม อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า คุณภาพบริการด้านรูปธรรม การเอาใจใส่ ความน่าเชื่อถือ ไว้ใจได้ การตอบสนอง และความมั่นใจ อยู่ในระดับมาก และ (3) เมื่อเปรียบเทียบการรับรู้คุณภาพ การบริการของผู้รับบริการตามปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ป่วย แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลหาดใหญ่ พบว่า การรับรู้คุณภาพการบริการของผู้รับบริการมีความแตกต่างกันตามปัจจัยส่วนบุคคลที่เกี่ยวกับ สถานภาพสมรส และอาชีพ อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectโรงพยาบาลหาดใหญ่--ความพอใจของผู้ใช้บริการth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.subjectบริการการพยาบาลของโรงพยาบาล--ความพอใจของผู้ใช้บริการth_TH
dc.subjectโรงพยาบาล--บริการลูกค้าth_TH
dc.titleพฤติกรรมและการรับรู้คุณภาพการบริการของผู้ป่วยแผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลหาดใหญ่th_TH
dc.title.alternativeBehavior and client perception towards service quality at the outpatient department in Hatyai Hospitalth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were: (1) to study the patients’ behavior of using an outpatient department service of Hatyai Hospital; (2) to study the patients’ perception towards service quality of an outpatient department of Hatyai Hospital; and (3) to compare patient perceived services quality from outpatient department, Hatyai Hospital by patient's demographic profiles. The population used in this study was the patients who used the services of the outpatient department of Hatyai Hospital, approximately 7,000 patients. The sample size was calculated based on Taro Yamane formula. The 400 samples were selected by quota sampling method. Questionnaires were used as the research instrument. The statistics used in this study was descriptive statistics including frequency, percentage, means, standard deviation as well as inferential statistics including Independent Sample t-test and analysis, One-Way ANOVA and compared the average couple using LSD. The result showed that: (1) behavior of using the service of the outpatient department of Hatyai Hospital showedthat the responding patients decided by themselves to use outpatient services in Hatyai Hospital. The reason that the patients chose to use service in Hatyai Hospital was the right to be claimed. The most patients paid for the medical bills by using of the 30 baht health care gold card, and they travelled by a private car. (2) The patients' overall perceptions towards service quality provided by the outpatient department of Hatyai Hospital were at high level. Considering the five-dimensions of service quality, the dimension of, tangible,empathy, reliability, responsiveness and assurance were also at a high level. (3) The results of a comparison of patients’ perceptions and their demographic profiles in regard to the service quality showed that there were statistically significant differences in their perceptions based on demographic profiles including marital status and occupation at the statistical significance level of 0.05en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
154986.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.25 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons