Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9948
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธนชัย ยมจินดา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสมจิตร รวงน้อย-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-10-16T08:03:57Z-
dc.date.available2023-10-16T08:03:57Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9948-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับผลการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ระบบการ บริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ในจังหวัดสระแก้ว (2) ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลการปฏิบัติงาน ของเจ้าหน้าที่ระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ในจังหวัดสระแก้ว (3) เปรียบเทียบ ผลการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ จําแนกตามลักษณะด้านประชากรศาสตร์และ (4) ศึกษาความสัมพันธ์ของ ปัจจัยที่ส่งผลการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ มีผลต่อระดับผลการปฏิบัติงานขอเจ้าหน้าที่ ระบบการบริหาร การเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ในจังหวัดสระแก้ว การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสํารวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือ เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานระบบการ บริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ในจังหวัดสระแก้วจํานวน 61 หน่วยงานๆ ละ 1 คน รวม เจ้าหน้าที่ 61 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างได้ 40 คน จากการคํานวณโดยใช้สูตรทาโร ยามาเน่ และเลือก ตัวอย่างโดยวิธีเฉพาะเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามซึ่งมีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.955 สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การทดสอบความ แปรปรวนทางเดียว การทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธีผลต่างนัยสําคัญทางสถิติและสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า (1) ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับระดับความคิดเห็นผลการปฏิบัติงานของ เจ้าหน้าที่ระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ในจังหวัดสระแก้ว โดยภาพรวม อยู่ใน ระดับมากทุกข้อ (2) ปัจจัยที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ด้านการปฏิบัติงาน ระบบการบริหาร การเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ด้านอุปกรณ์ และระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบ อิเล็กทรอนิกส์โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ทุกข้ออยู่ในระดับมาก (3) ผล การวิเคราะห์การเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ จําแนกตามลักษณะด้านประชากรศาสตร์ กับ ปัจจัยที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงาน ไม่แตกต่างกัน และ (4) ปัจจัยที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงานระบบการบริหาร การเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ด้านอุปกรณ์ และระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบ อิเล็กทรอนิกส์มีความสัมพันธ์กับผลการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ หลังจากที่ได้นําระบบการบริหารการเงิน การคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์มาใช้งาน โดยภาพรวมมีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.01 ใน ทิศทางเดียวกัน อยู่ในระดับปานกลาง ณ นัยสําคัญที่ 0.01 (r =0.652)th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.subjectการทำงานth_TH
dc.titleปัจจัยส่งผลต่อผลการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ในจังหวัดสระแก้วth_TH
dc.title.alternativeStudy factors affecting staff performance on government fiscal management system in Sakaeo Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were: (1) to study staff performance level on Government Fiscal Management System in Sakaeo Province; (2) to study factors affecting staff performance on Government Fiscal Management System; (3) to compare staff work performance classified by personal factors; and (4) to study the relationship of factors affecting staff performance towards staff work performance. The population consisted of 61 staff engaged in GFMIS in Sakaeo Province. The sample of 40 respondents calculated by Taro Yamane formula. The research instrument was likert scale questionnaire with reliability of 0.955. The statistic employed for analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, One-way ANOVA, and Pearson Correlation coefficient. The research findings revealed: (1) the staff performance level on GFMIS were at high level in overall and by aspects; (2) factors affecting staff performance in overall and by aspects were at high level; (3) as per comparison of staff work performance classified by personal factors, the research indicated no statistical significant differences at 0.05; and (4) the relationship of factors affecting performance and staff work performance indicated a moderate positive relationship (r = 0.652) at statistical significant 0.01en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
150241.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.21 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons