Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9949
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิ่งพร ทองใบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.contributor.authorสมฤทัย สิงห์ประสาท-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-10-16T08:27:26Z-
dc.date.available2023-10-16T08:27:26Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9949-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับแรงจูงใจด้านผลตอบแทนของบุคลากรสาย วิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา 2) ระดับความจงรักภักดีต่อองค์กรของบุคลากรสายวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา และ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจด้านผลตอบแทนกับความ จงรักภักดีต่อองค์กรของบุคลากรสายวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสํารวจ โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ เก็บรวบรวมข้อมูลจาก บุคลากรสายวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา จํานวน 615 คน กลุ่มตัวอย่าง จํานวน 242 คน จาก การใช้สูตรยามาเน่ ประกอบด้วยข้าราชการ จํานวน 67 คน ลูกจ้างชั่วคราว จํานวน 8 คน และพนักงานใน สถาบันอุดมศึกษา จํานวน 167 คน โดยการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ การวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานด้วยสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมน ผลการวิจัยพบว่า ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับแรงจูงใจด้านผลตอบแทนของบุคลากร โดยรวมแล้วกลุ่มตัวอย่างมีแรงจูงใจในด้านผลตอบแทน อยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 3.77 ผล การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับความจงรักภักดีต่อองค์กร โดยรวมแล้วกลุ่มตัวอย่างมีความจงรักภักดีต่อ องค์กรในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.06 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจด้าน ผลตอบแทนโดยรวมกับ ความ จงรัก ภักดี ต่อองค์กรโดยรวม พบว่ามีค่า Sig. เท่ากับ 0.943 จึงมีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันใน ระดับมากที่สุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา--การบริหารงานบุคคลth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา--ข้าราชการและพนักงาน--เงินเดือนth_TH
dc.subjectการจูงใจในการทำงานth_TH
dc.subjectความผูกพันต่อองค์การth_TH
dc.subjectการบริหารค่าตอบแทนth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleแรงจูงใจด้านผลตอบแทนกับความจงรักภักดีของบุคลากรสายวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมาth_TH
dc.title.alternativeCompensation motivation and loyalty of academic staff of Nakhon Ratchasima Rajabhat Universityth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aimed 1) to study the level of compensation motivation of academic staff of Nakhon Ratchasima Rajabhat University; 2) to study the degree of loyalty of academic staff of Nakhon Ratchasima Rajabhat University; and 3) to study the relationship between compensation motivation and loyalty of academic staff of Nakhon Ratchasima Rajabhat University. This study was a survey research using questionnaires for data collection. The total population was 615 academic staff of Nakhon Ratchasima Rajabhat University. The 242 samples were calculated by Yamane’s fomular and selected 67 officials, 8 temporary staff and 167 staff of educational institutions by using stratified random sampling method. The data was analyzed by using percentage, mean, standard deviation and Spearman rank difference method. The results showed that overall the level of compensation motivation of respondents was high with an average score 3.77. The degree of loyalty of respondents was high with an average score 4.06. Overall the compensation motivation related in the same direction at the highest level to loyalty with 0.943 Sig. (2-tailed) and 0.05 statistical significanceen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
150177.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.29 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons