Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9952
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธนชัย ยมจินดา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสิทธิพงศ์ วงศ์เจริญ-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-10-17T02:39:33Z-
dc.date.available2023-10-17T02:39:33Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9952-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความสามารถทางการแข่งขัน ของผู้ประกอบการธุรกิจเอกชน เขตชายแดนอําเภอแม่สอด จังหวัดตาก (2) เปรียบเทียบความสามารถ ทางการแข่งขันจําแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล (3) เปรียบเทียบความสามารถทางการแข่งขันจําแนก ตามปัจจัยด้านกิจการ การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงสํารวจประชากรคือผู้ประกอบการธุรกิจเอกชน ในเขตอําเภอแม่สอดจํานวน 315 ราย กำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้การคํานวณตามวิธี ยามาเน่ ได้กลุ่ม ตัวอย่างจํานวน 127 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลแบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่าไลเคิร์ต สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือสถิติพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมานเพื่อทดสอบสมมติฐานคือการทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการเปรียบเทียบรายคู่ตามวิธีแอลเอสดี ผลการวิจัยพบว่า (1) ระดับความสามารถทางการแข่งขันของผู้ประกอบการธุรกิจ ในเขตอําเภอแม่สอดโดยรวมอยู่ในระดับมากและเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ทุกด้านอยู่ใน ระดับมาก ยกเว้นด้านที่อยู่ในระดับปานกลางได้แก่ การค้าตามชายแดน (2) การเปรียบเทียบความสามารถ ทางการแข่งขันของผู้ประกอบธุรกิจอําเภอแม่สอด จําแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า มีความแตกต่าง อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ในด้านตําแหน่งในองค์กร (3) เปรียบเทียบความสามารถ ทางการแข่งขันของผู้ประกอบธุรกิจอําเภอแม่สอด จําแนกตามปัจจัยด้านกิจการ พบว่า พบความแตกต่าง อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ในด้านธุรกิจหลักของกิจการ จํานวนพนักงาน มูลค่าการค้า ต่อปี ที่ตั้งของกิจการ ลักษณะของกิจการ และสัญชาติเจ้าของกิจการth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการแข่งขันทางการค้า--ไทย--ตากth_TH
dc.titleความสามารถทางการแข่งขันของผู้ประกอบการธุรกิจเอกชนเขตชายแดนแม่สอด จังหวัดตากth_TH
dc.title.alternativeCompetitiveness of businesses entrepreneur in Mae Sot Border District, Tak Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis independent study aimed to : (1) Study the competitiveness of private enterprises entrepreneur in Mae Sot Border District, Tak province (2) Compare the entrepreneur competitiveness classified by personal factors (3) Compare entrepreneurs competitiveness classified by enterprise factors. This study was a survey research. The population consisted of 315 private enterprise entrepreneurs operated in Mae Sot Border District. The sample of 127 respondents calculating by Taro Yamane’s formula were employed for this study. The instrument for research was Likert scale questionnaire. The statistics used for data analysis were descriptive statistic include frequency, percentage, mean, and standard deviation and inferential statistic for hypothesis testing which include t-test and one way ANOVA with Least Significant Differences (LSD). The research result revealed that : (1) The level of competitiveness of private enterprise entrepreneurs in overall were at a high level, when taken into consideration by aspects it indicated a moderate strength in border area of commerce and a high level in others of the rest (2) as for comparison of entrepreneurs competitiveness classified by personal factors it revealed a statistical significant differences at 0.05 level on position, (3) The comparison of entrepreneurs competitiveness classified by enterprise factors revealed the significant differences at 0.05 on core business, size of work force, yearly revenue, enterprises customer, and enterprises nationalityen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
150970.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.7 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons