Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9957
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | รชพร จันทร์สว่าง | th_TH |
dc.contributor.author | วรรณรีย์ ขาวฟอง | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-10-17T06:33:07Z | - |
dc.date.available | 2023-10-17T06:33:07Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9957 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับคุณภาพชีวิตการทำงานของบุคลากรกรมการขนส่งทางบกในราชการบริหารส่วนกลาง (2) เปรียบเทียบคุณภาพชีวิตการทำงานของบุคลากรกรมการขนส่งทางบกในราชการบริหารส่วนกลาง จำแนกตามปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคล (3) ศึกษาปัญหาและเสนอแนะแนวทางในการแก้ไข ปัญหาเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตการทำงานของบุคลากรกรมการขนส่งทางบกในราชการบริหารส่วนกลาง การศึกษาครั้งนี้ประชากร คือ บุคลากรของกรมการขนส่งทางบกในราชการบริหารส่วนกลาง จำนวน 1,911 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างด้วยการคำนวณของทาโร่ ยามาเน่ ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 331 คน โดยสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิตามสถานภาพการเป็นบุคลากรภาครัฐ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ ความแปรปรวนทางเดียวและการทดสอบผลต่างน้อยที่สุดเป็นรายคู่ด้วยวิธีของเชฟเฟ ผลการศึกษาพบว่า (1) คุณภาพชีวิตการทำงานของบุคลากรกรมการขนส่งทางบกในราชการบริหารส่วนกลาง ในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าด้านลักษณะงานที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม ด้านบูรณาการทางสังคม ด้านความสมดุลระหว่างงานและชีวิตส่วนตัว อยู่ในระดับสูง ส่วนด้านอื่นๆ อยู่ในระดับปานกลาง (2) บุคลากรกรมการขนส่งทางบกในราชการบริหารส่วนกลางที่มีอายุ และสถานภาพการเป็นบุคลากรภาครัฐที่แตกต่างกันมีคุณภาพชีวิตการทำงานแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนบุคลากรที่มีเพศ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส ถิ่นที่อยู่/ภูมิลำเนา รายได้เฉลี่ยต่อเดือน และระยะเวลาในการปฏิบัติงานที่แตกต่าง กันมีคุณภาพชีวิตการทำงานไม่แตกต่างกัน และ (3) ปัญหาของการพัฒนาคุณภาพชีวิตการทำงานของบุคลากร กรมการขนส่งทางบกในราชการบริหารส่วนกลาง คือ ค่าตอบแทนหรือเบี้ยเลี้ยงที่ได้รับยังไม่เหมาะสมกับปริมาณงาน ไม่มีความชัดเจนของความก้าวหน้าในงาน รวมถึงบุคลากรไม่เพียงพอต่อภาระงานที่เพิ่มขึ้น โดยมีข้อเสนอแนะ คือ ควรจัดสวัสดิการให้บุคลากร ได้แก่ รถรับ-ส่ง ค่าเช่าบ้านสำหรับการปฏิบัติงานในส่วนกลางและควรจัดทำแผนความก้าวหน้าของอาชีพของบุคลากร รวมถึงควรจัดสรรบุคลากรให้เพียงพอต่อภาระงาน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | กรมการขนส่งทางบกในราชการบริหารส่วนกลาง | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ | th_TH |
dc.subject | คุณภาพชีวิตการทำงาน | th_TH |
dc.title | คุณภาพชีวิตการทำงานของบุคลากรกรมการขนส่งทางบกในราชการบริหารส่วนกลาง | th_TH |
dc.title.alternative | Quality of work life of Central Administration Employees in Department of Land Trasport | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This study aims to (1) study the level of quality of work life of central administration employees in Department of Land Transport; (2) compare their quality of work life of central administration employees in Department of Land Transport divided by personal factors; and (3) study the problems and suggest a guideline related to the quality of work life of central administration employees in Department of Land Transport. The population consisted of 1,911 central administration employees in Department of Land Transport, calculated by Taro Yamane formula. The sample comprised 331 employees, selected by stratified random sampling, on status of public sector employees. A constructed questionnaire was used at the instrument to collect data. The statistics employed for data analysis were percentage, average, standard deviation, t-test, one-way ANOVA and pair difference test by Scheffe’s method. The results showed that (1) the level of quality of work life of central administration employees in Department of Land Transport was overall at moderated level. As for individual aspects, it was found that job characteristics that are beneficial to society, social integration, and balance between work and personal life was at high level, while other aspects were moderate level; (2) quality of work life of central administration employees in Department of Land Transport divided by personal factors showed that central administration employees with different ages and status of government employees had different levels of quality of work life, with a statistical significance at 0.05 level, while those had different genders, level of education, marriage status, hometown/domicile, average income, and duration of work had no different level of quality of work life; and (3) the problems related to the quality of work life of central administration employees were inappropriate remuneration or allowances with their workload and lack of clarity on career path, and lack of employees response to the increased workload. As for the guidelines, it was suggested that the Department of Land Transport provide the transportation, house rental for employees, and planning for career path of employees including recruitment of enough employees to meet the requirement. | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
148779.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 11.33 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License