Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9963
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชนินทร์ ชุณหพันธรักษ์th_TH
dc.contributor.authorสิริกร ศุภมงคลth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-10-18T02:26:03Z-
dc.date.available2023-10-18T02:26:03Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9963en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการสำนักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว (2) เปรียบเทียบความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการสำนักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว จำแนกตามคุณลักษณะส่วนบุคคล การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือข้าราชการ สำนักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว จำนวน 264 ราย โดยกลุ่มตัวอย่างได้จากการคำนวณตามสูตรของท่าโร่ ยามาเน่ ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 153 คน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือ แบบสอบถามโดยมีค่าความเชื่อมันเท่ากับ 0.89 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การทดสอบค่าเอฟ และการทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธีผลต่างนัยสำคัญทางสถิติ ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการสำนักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัวโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับจากมากสุดคือ ด้านความเต็มใจที่จะใช้ความรู้ความสามารถเพื่อองค์การ ด้านการยอมรับในค่านิยมและเป้าหมายขององค์การ ด้านความภาคภูมิใจและรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งขององค์การ และด้านความปรารถนาที่จะคงอยู่เป็น สมาชิกขององค์การ (2) ข้าราชการสำนักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัวที่มีเพศ อายุ ระดับ การศึกษา รายได้ต่อเดือน หน่วยงานที่สังกดที่แตกต่างกัน มีความผูกพันต่อองค์การไม่แตกต่างกัน ส่วนข้าราชการสำนักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัวที่มีระยะเวลาในการปฏิบัติงาน และระดับตำแหน่งที่แตกต่างกัน มีความผูกพันต่อองค์การแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสำนักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว--ข้าราชการและพนักงานth_TH
dc.subjectความผูกพันต่อองค์การ--ไทยth_TH
dc.titleความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการสำนักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัวth_TH
dc.title.alternativeOrganizational commitment of officials at work at the office of women's affairs and family developmenten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to study the level of organizational commitment of officials of Women’s Affairs and Family Development Office; and (2) to compare the organizational commitment of officials of Women’s Affairs and Family Development Office, classified by personal factors. The population of this survey research consisted of 264 officials of Women’s Affairs and Family Development Office. The sample of 153 officials was calculated by Taro Yamane formula. The statistics employed for data analysis were percentage, means, standard deviations, t-test and least significant difference (LSD). The study results revealed that (1) the overall organizational commitment of officials at Women’s Affairs and Family Development Office was at a high level. As for each individual aspect, it was found that willing to use knowledge and ability to work hard for organization was at a high level followed by belief and acceptance of organizational goals and values, the organizational pride and to feel a part of the organization and strong intention to maintain their memberships respectively; and (2) the officials with different genders, ages, educational levels, salary levels and departments had no different organizational commitment, while the officials with different durations of work and levels of position had different organizational commitment with a statistical significance at 0.05 level.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
145094.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.08 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons