Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9969
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธนชัย ยมจินดาth_TH
dc.contributor.authorเลิศเชาว์ คำชุมภูth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-10-18T03:13:00Z-
dc.date.available2023-10-18T03:13:00Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9969en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการรับรู้กิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคมของบริษัท สุราบางยี่ขัน จำกัด (2) เปรียบเทียบระดับการรับรู้กิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคมของบริษัท สุราบางยี่ขัน จำกัด จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล การศึกษาครั้งนี้ใช้วิธีการศึกษาเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ ประชาชนที่อาศัยอยู่ในหมู่ ที่ 1 - 7 ตำบลบางคูวัด อำเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี จำนวน 31,468 คน โดยกลุ่มตัวอย่างได้จากการคำนวณตามสูตรของยามาเน่ จำนวน 400 คน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบสะดวก เครื่องมือที่ในการวิจัย คือแบบสอบถามแบบประมาณค่าของลิเคอร์ท สถิติที่ใช้ในการศึกษา คือ การแจกแจงความถี่ร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการเปรียบเทียบแบบพหุคูณ การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยด้วยวิธีของเชฟเฟ่ ทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ ด้วยวิธีผลต่างนัยสำคัญทางสถิติ ผลการศึกษาพบว่า (1) การรับรู้กิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคมของบริษัท สุราบางยี่ขัน จำกัด พบว่า ภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากเช่นเดียวกัน โดยค่าเฉลี่ยสูงสุดได้แก่ ด้านภาพลักษณ์ด้านธรรมาภิบาลของบริษัท สุราบางยี่ขัน จำกัด และค่าเฉลี่ยต่ำสุดได้แก่ ภาพลักษณ์ด้านความรับผิดชอบต่อสังคมของบริษัท สุราบางยี่ขัน จำกัด และ (2) เมื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นต่อการรับรู้กิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคม จำแนกตามเพศ อายุ การศึกษา อาชีพ ไม่พบความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 ส่วนประชาชนที่มีหมู่แตกต่างกัน พบว่ามีระดับการรับรู้กิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคม แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์การธุรกิจth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleการรับรู้กิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคมของ บริษัท สุราบางยี่ขัน จำกัดth_TH
dc.title.alternativePerception on corporate social responsibility activities of SuraBangyikhan Company Limiteden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aimed to (1) study the perception of social responsibility activities of Sura Bangyikhan Company Limited, and (2) to compare the perception level of social responsibility activities of Sura Bangyikhan Company Limited, classified by personal factors. The population consisted of 31,468 residents who lived in Moo 1-7, Tambon Bangkuwat, Amphoe Muang, Pathum Thani Province. The sampling size was 400 residents calculated by Yamane’s method, selected by convenient sampling. The collecting data tool in this study was the Likert scale questionnaire. The statistics employed for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test ,one-way ANOVA , and pair difference test by Scheffe’s method with Least Significant Difference. The results of this study revealed that (1) the perception level of social responsibility activities of Sura Bangyikhan Company Limited was overall and in all factors at the high level. The highest was corporate governance and the lowest was corporate social responsibility. (2) The comparing results of residents’ perception of corporate social responsibility activities, classified by gender, age, education, and occupation were not significantly different 0.05 level. However, when compared with residents who lived in different villages, it was found that the level of perception of corporate social responsibility activities was significantly different at 0.05 level.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
142654.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.32 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons