Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/996
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปธาน สุวรรณมงคล | th_TH |
dc.contributor.author | ทัศนีย์ เกิดสันโดด, 2511- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-25T06:45:18Z | - |
dc.date.available | 2022-08-25T06:45:18Z | - |
dc.date.issued | 2552 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/996 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยมูลเหตุที่ทำให้กลุ่มรักษ์ค่านซ้ายได้รับ เลือกตั้งติดต่อกันสองสมัย (2) ผลกระทบจากการที่กลุ่มรักษ์ด่านซ้ายได้รับเลือกตั้งติดต่อกันสองสมัย การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการศึกษาจากเอกสารและการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่าง คือ คณะกรรมการชุมชน คณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.อำเภอ) กลุ่มรักษ์ด่านซ้าย กลุ่มนักการเมือง (ฝ่ายตรงข้าม) กำนันตำบลด่านซ้าย ปลัดเทศบาลตำบลด่านซ้าย จำนวน 13 คน และการวิเคราะษ์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์เชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า (1) ปัจจัยมูลเหตุที่ทำให้กลุ่มรักษ์ด่านซ้ายได้รับเลือกตั้งติดต่อกัน สองสมัย คือ ผลงาน ภาวะผู้นำ ความมั่งคั่ง ระบบอุปถัมค์ (2) ผลกระทบจากการที่กลุ่มรักษ์ด่านซ้ายได้รับเลือกตั้งติดต่อกันสองสมัย ด้านบวก คือ สามารถบริหารงานได้อย่างต่อเนื่องและมีเอกภาพ นำสิ่งที่เป็นอุปสรรคในอดีตมาปรับปรุงแก้ไข การรับรู้ข่าวสารสามารถกระทำได้รวดเร็วส่งผลให้ประชาชนในพื้นที่ได้รับประโยชน์จากการบริหารงานในทุกๆ ด้าน ด้านนโยบายประชาชนได้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจในโครงการสำคัญต่างๆ ด้านเศรษฐกิจ โดยการนำงบประมาณมาใช้ในการบริหารงานก่อให้เกิดอาชีพและรายได้ให้กับประชาชนนท้องถิ่นได้อย่างแท้จริง ด้านสังคมประชาชนมีชีวิตและความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นและมีรายได้เพื่มขึ้น ด้านลบ คือ ขาดการถ่วงดุลอำนาจทางด้านการบริหารและการปกครอง ทำให้เกิดการผูกขาดอำนาจทางการเมือง การมีส่วนร่วม ทางการเมืองของประชาชนต่อการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งครั้งต่อไปอาจเกิดความเฉื่อยชาหรือไม่เห็นความสำคัญของการเลือกตั้ง | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | กลุ่มรักษ์ด่านซ้าย | th_TH |
dc.subject | การเลือกตั้งท้องถิ่น -- ไทย -- เลย | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่มีผลต่อการได้รับเลือกตั้งสองสมัยติดต่อกันของกลุ่มรักษ์ด่านซ้าย เทศบาลตำบลด่านซ้าย อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย | th_TH |
dc.title.alternative | Factors leading to the re-election of the Rak Dan Sai Group for a second term in Dan Sai Municipality, Dan Sai District, Loei Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | รัฐศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชารัฐศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were to study (1) factors that led to the re-election of the Rak Dan Sai Group for a second term and (2) the impact of the re-election of the Rak Dan Sai Group. This was a qualitative research based on analysis of the literature and interviews with a sample group of 13 individuals, consisting of community committee members, district election committee members, members of the Rak Dan Sai Group, members of the opposing political groups, the kumnan of Dan Sai Sub-district, and the permanent secretary of Dan Sai Municipality. Data were analyzed through descriptive analysis. The results showed that (1) the supporting factors that led to the re-election of the Rak Dan Sai Group were their work results, leadership, financial prosperity, and the patronage system. (2) The impact of the re-election comprised both positive and negative effects. The positive impacts were consistency and uniformity in political administration, the improvement of problems in the past, and the fast dissemination of news, which was beneficial to the populace in terms of policy (public participation in decision making), economy (use of public funds to generate jobs and income in a tangible way), and society (people’s better quality of life and higher income). The negative impacts were a lack of a balance of government and administrative power and the creation of a monopoly on political power, which could result in voter apathy in the next election | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ธโสธร ตู้ทองคำ | th_TH |
Appears in Collections: | Pol-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesbib114932.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 9.11 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License