Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9992
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุวีณา ตั่งโพธิสุวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสมประสงค์ ยางนอก-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-10-20T04:26:29Z-
dc.date.available2023-10-20T04:26:29Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9992-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับคุณภาพการบริการหลังการได้รับบริการ ของผู้ป่วยนอก (2) ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะส่วนบุคคลกับคุณภาพการบริการ (3) ปัญหาและ ข้อเสนอแนะในด้านคุณภาพการบริการ การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากร คือ ผู้มารับบริการบริเวณแผนกการพยาบาล ผู้ป่วยนอก คลินิกพิเศษนอกเวลาราชการ อาคารเฉลิมพระเกียรติ อาคาร 7 ชั้น 1 สถาบันโรคทรวงอก จำนวน 780 คน จากยอดรวมการให้บริการประจำเดือน ตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2557 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2557 กำหนด ขนาดกลุ่มตัวอย่างที่ระดับความคลาดเคลื่อน 0.05 โดยใช้สูตรของ ทาโร่ ยามาเน่ ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่างจำนวน 257 คน การสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติเชิง พรรณนา ได้แก่ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ไค-สแควร์ ผลการศึกษา พบว่า (1) ระดับคุณภาพการบริการ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณา เป็นรายด้านพบว่า ด้านความไว้วางใจหรือความเที่ยงตรง ความสามารถ ความน่าเชื่อถือและความปลอดภัย อยู่ในระดับมากที่สุด ส่วนด้านการตอบสนองหรือความกระตือรือร้น การเข้าถึงบริการ ความมีไมตรีจิต/ มารยาท การติดต่อสื่อสาร ความเข้าใจผู้มารับบริการและการบริการที่เป็นรูปธรรม/สัมผัส อยู่ในระดับ มาก (2) ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะส่วนบุคคลกับระดับคุณภาพการบริการพบว่าปัจจัยด้านสถานภาพ อาชีพหลัก และด้านสิทธิหลักประกันสุขภาพที่ใช้ในการรับบริการครั้งนี้ มีความสัมพันธ์กับคุณภาพ การบริการโดยรวม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ส่วนด้านอายุและด้านระดับการศึกษาสูงสุดมี ความสัมพันธ์กับคุณภาพการบริการโดยรวม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (3) ปัญหาด้านคุณภาพ การบริการ พบว่า ความไม่เพียงพอของบุคลากร/เจ้าหน้าที่วัสดุ/อุปกรณ์ สิ่งอำนวยความสะดวก ควรมี การทบทวนจำนวนและบทบาทหน้าที่ของบุคลากร/เจ้าหน้าที่ มีการจัดหาวัสดุ/อุปกรณ์ สิ่งอำนวยความ สะดวกให้ตรงตามความจำเป็นและสอดคล้องเหมาะสมกับความต้องการของผู้มารับบริการในส่วนของ ขั้นตอนการบริการของสถาบันฯ ไม่สามารถตอบสนองต่อความต้องการของผู้มารับบริการเท่าที่ควร สำหรับข้อเสนอแนะในการบริการ ควรมีการพัฒนาขั้นตอนการบริการของสถาบันฯ ให้มีความสะดวก รวดเร็ว ชัดเจน ทันสมัยและเหมาะสมมากขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสถาบันโรคทรวงอกth_TH
dc.subjectบริการลูกค้าth_TH
dc.subjectงานบริการth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleคุณภาพการบริการของแผนกการพยาบาลผู้ป่วยนอกคลินิกพิเศษนอกเวลาราชการ สถาบันโรคทรวงอกth_TH
dc.title.alternativeService quality of overtime clinic, outpatient department, Central Chest Institute of Thailandth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to study: (1) a service quality after receiving outpatient services (2) the relationship between personal characteristic and service quality (3) identify the problems and suggestions on the quality of service. This study was a survey research. The sampling population was 750 people by the total service period from February 1, 2014 to February 28, 2014 who were used the service in Overtime Clinic, Outpatient Department of Chalermprakiet Building No.7 at the 1st floor of Central Chest Institute of Thailand. The sample size was calculated with the significant at the 0.05 level. The sampling group was 300 people by accidental sampling. This research gathered data by using a questionnaire. The statistic used to analyze data was a descriptive statistics by using percentages, averages, standard deviation (S.D), and Chi-square. The results from the study showed that (1) the majority of service quality level was at high level when considering in each aspect: trusting or precision, ability, the reliability and safety were at the highest level moreover, the response or enthusiasm aspect, accessing the service, hospitality / manners, communication, understanding the patient and service with the factual / exposed were at high level (2) the relationship between personal characteristic and service quality explored in many factors as status, occupation and the right of health insurance used in this service were related with the service quality with the significant at the 0.01 level, however, the factors of age, educational level were related with the service quality with the significant at the 0.05 (3) the problems on the quality of service explored in many ways such as lack of personnel officer / material / equipment, facilities, reconsidering the number, roles and responsibilities of the personnel officers, supply of materials / equipment, facilities with the necessary and appropriate to the needs of clients, moreover the service procedures were unable to respond to the needs of clients as it should. For the suggestions on the quality of service were as improving the service procedures for faster service, convenient, clearly, modern and more appropriateen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
145691.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.57 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons