Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9994
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิพันธ์ เห็นโชคชัยชนะth_TH
dc.contributor.authorสร้อยสุดา ชนวัฒนาth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-10-20T07:03:54Z-
dc.date.available2023-10-20T07:03:54Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9994en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อศึกษาระดับความเสี่ยงในธุรกิจสินเชื่อเช่าซื้อรถยนต์ของบริษัท ลีสซิ่งไอซีบีซี (ไทย) จำกัด (2) เพื่อศึกษาระดับการบริหารความเสี่ยงในธุรกิจสินเชื่อเช่าซื้อรถยนต์ของบริษัท ลีสซิ่งไอซีบีซี (ไทย) จำกัด (3) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับระดับความเสี่ยงจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล (4) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับระดับการบริหารความเสี่ยงจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาคือ พนักงานบริษัท ลีสซิ่งไอซีบีซี (ไทย) จำกัด ซึ่งปฏิบัติงานใน สำนักงานใหญ่ จำนวน 200 คน เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการทดสอบผลต่างนัยสำคัญน้อยที่สุดโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ผลการศึกษาพบว่า (1) พนักงานของบริษัทมีความคิดเห็นเกี่ยวกับระดับความเสี่ยงโดย รวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าความเสี่ยงด้านสภาพคล่องอยู่ในระดับมาก โดยความเสี่ยงจากปริมาณหนี้สูญจากการปล่อยสินเชื่อเช่าซื้อที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องมีค่ามากที่สุด (2) พนักงานของบริษัทมีความคิดเห็นเกี่ยวกับระดับการบริหารความเสี่ยงโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าการบริหารความเสี่ยงด้านเครดิตอยู่ในระดับมาก โดยการกำหนดแนวทางและบทลงโทษทางวินัยแก่พนักงานที่ทุจริตมีค่ามากที่สุด (3) พนักงานของบริษัทที่มีปัจจัยส่วนบุคคลแตกต่างกัน โดยเฉพาะเพศแตกต่างกันมีความคิดเห็นเกี่ยวกับระดับความเสี่ยงของบริษัท แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ ...5 (4) พนักงานของบริษัทที่มีปัจจัยส่วนบุคคลแตกต่างกัน โดยเฉพาะอายุแตกต่างกันมีความคิดเห็นเกี่ยวกับระดับการบริหารความเสี่ยงของบริษัทแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ ...5th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการบริหารความเสี่ยงth_TH
dc.subjectธุรกิจเช่าทรัพย์th_TH
dc.subjectสินเชื่อธุรกิจth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleการบริหารความเสี่ยงในธุรกิจสินเชื่อเช่าซื้อรถยนต์ : กรณีศึกษาบริษัท ลิสซิ่งไอซีบีซี (ไทย) จำกัดth_TH
dc.title.alternativeRisk management of hire purchase business : a case study of ICBC Leasing (Thai) Company Limiteden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis studies aimed to (1) study the risk level in the hire purchase business, (2) to study risk management level in the hire purchase business and (3) to compare the difference among the risk level which individual factors (4) to compare the risk management level classified by individual factors. The samples used in this case study were 200 employees of the ICBC Leasing (Thai) headquarter. The questionnaire was used as the tool in collecting the data. The SPSS for Windows software had been applied to analyzes and approach such as percentage, mean, standard deviation, t-test, one-way ANOVA and Multiple Comparisons with Least Significant Difference test (LSD) were used and interpreted into results. The results shown that (1) The Company employees’ overview opinion on risk level was high. Considering their particular factors, Liquidity risk was high level, since the amount of bad debt was the most importance. (2) Employees had opinion of risk management level was high. Considering their particular factors, Credit risk management was high level, since the guidelines and punishment of dishonest employees was the most importance. (3) Individual factors of employees especially the sex factor had opinion in risk level was significance level at .05 and (4) Individual factors of employees especially the age factor had opinion in risk management level was significance level at .05.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
143731.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.39 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons