Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/999
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธีรภัทร์ เสรีรังสรรค์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorยุทธพร อิสรชัย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorธนรัตน์ ตุละธน, 2506--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-25T07:13:29Z-
dc.date.available2022-08-25T07:13:29Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/999-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2554th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาบทบาททางการเมืองของนายบัญญัติ บรรทัดฐาน ในช่วงที่ดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ระหว่าง พ.ศ. 2546 - พ.ศ. 2548 การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างโดยการเลือกแบบเจาะจงจำนวน 13 คน คือ นักการเมืองพรรคประชาธิปัตย์ นักการเมืองพรรคเพื่อไทย นักการเมืองพรรคการเมืองใหม่ สื่อมวลชน ผู้นำชุมชน นักวิชาการ เครื่องมือการวิจัยคือแบบสัมภาษณ์เจาะลึก และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรอเนา ผลการวิจัยพบว่า (1) บทบาทในสภา คือเสนอญัตติอภิปรายให้สภามีมาตรการควบคุม ส.ส. มีความเชี่ยวชาญในข้อกฎหมาย และการเสนอร่างกฎหมาย แสดงความคิดเห็น ตอบคำถาม และวิเคราะห์สถานการณ์บ้านเมืองด้วยเหตุผล บทบาทในฐานะผู้อภิปรายหลัก สามารถอภิปรายได้ชัดเจนในประเด็นต่าง ๆ ทำให้มีน้ำหนักจูงใจให้ ส.ส. ในสภาเห็นด้วย และเป็นกรรมการประสานงานพรรคร่วมรัฐบาล อาทิ การจัดตั้งรัฐบาล การแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ในสภา (2) บทบาทนอกสภา พบว่ามีบทบาทในการดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี ทั้งรัฐมนตรีช่วยว่าการในหลายกระทรวง และหลายสมัย อาทิ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคในใลยีและพลังงาน และรองนายกรัฐมนตรี (3) บทบาทในฐานะหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ พบว่าได้แก่การระดมความคิดเห็นเพื่อจัดทำนโยบายสาธารณะ สนับสมุนงบประมาณพัฒนาสาขาพรรค หาสมาชิกใหม่ และให้สาขาพรรคมีกิจกรรมร่วมกับชาวบ้าน ต้องติดตามตรวจสอบและควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน เช่น คัดค้านยับยั้งร่าง พ.ร.บ. ที่อาจก่อให้เกิดปัญหาได้ตั้งกระทู้ถามในเรื่องที่น่าสงสัยเคลือบแคลง โดยเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาลth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2011.6en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectบัญญัติ บรรทัดฐาน, 2485- -- กิจกรรมทางการเมืองth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectนักการเมือง -- ไทยth_TH
dc.titleบทบาททางการเมืองของนายบัญญัติ บรรทัดฐาน ในฐานะหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์th_TH
dc.title.alternativeThe political role of Mr. Banyat Bantadtan in his capacity as head of the Democrat Partyth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2011.6en_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research was to study the political role of Mr. Banyat Bantadtan when he was head of the Democrat Party in 2003 - 2005. This was a qualitative research. The sample population, chosen through purposive sampling, consisted of 13 people who were Democrat politicians,Pcua Thai Party politicians, politicians belonging to newer parties, journalists, community leaders, and academics. Data were collected using an in-depth interview form and were analyzed descriptively. The results showed that (1) Mr. Banyat Bantadtan’s roles in the Parliament were starting a debate on proposed legislation to control Members of Parliament, being expert on law, proposing draft legislation, expressing opinions, answering questions, analyzing the political situation in a reasonable way, being the party’s main speaker, speaking clearly and credibly on issues to persuade other Members of Parliament, and acting as a member of a coalition government coordination committee to set up a government and solve problems in the Parliament. (2) Outside Parliament, Mr. Banyat Bantadtan played the role of deputy Cabinet minister in several ministries including the Ministry of the Interior and the Ministry of Science, Technology and Energy, and the role of Deputy Prime Minister. (3) As head of the Democrat Party, Mr. Banyat Bantadtan’s roles were brainstorming to form public policy, providing funding to support and develop branches of the party, recruiting new party members, encouraging party branches to join in activities with their constituents, monitoring and inspecting the work of government agencies, opposing legislation that could cause problems, posing questions about suspicious issues, and raising a no-confidence debateen_US
Appears in Collections:Pol-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib130250.pdfเอกสารฉบับเต็ม30.15 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons