Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10020
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสน่ห์ จุ้ยโต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุรพร เสี้ยนสลาย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสมลักษณ์ วงมณฑลขจร-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-10-26T03:47:52Z-
dc.date.available2023-10-26T03:47:52Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10020-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการจัดการความรู้ของหน่วยงานที่ประสบผลสำเร็จ (2) วิเคราะห์เปรียบเทียบการจัดการความรู้ของหน่วยงานที่ประสบผลสำเร็จ และ (3) พัฒนาตัวแบบการจัดการความรู้มาประยูกต์ใช้ในสำนักงานเขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ หน่วยงานที่ศึกษาได้แก่ กรมสรรพากร โรงพยาบาลศิริราช สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก โดยสัมภาษณ์บุคลากรที่เกี่ยวข้อง 21 คน ประกอบด้วย ผู้เชี่ยวชาญ นักวิชาการ วิทยากร และ ผู้ปฏิบัติงานต้านการจัดการความรู้ รวมทั้ง การศึกษาข้อมูลทุติยภูมิจากเอกสารต่างๆ หลังจากนั้นได้ประมวลผลข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล อย่างเป็นระบบ ผลการศึกษาพบว่า (1) การจัดการความรู้ของหน่วยงานที่ประสบผลสำเร็จสามารถ พิจารณาเป็นรายด้านได้ ดังนี้ 1) ด้านองค์ประกอบการจัดการความรู้ พบว่า ผู้บริหาร บุคลากร คณะกรรมการจัดการความรู้ ให้ความสนใจ สนับสนุน ส่งเสริมการจัดการความรู้ของบุคลากรใน หน่วยงาน 2) ด้านกระบวนการจัดการความรู้ ส่วนใหญ่มี 5 ขั้นตอน 3) ด้านปัจจัยที่มีผลต่อการ จัดการความรู้ พบว่า ผู้นำให้ความสำคัญ ส่งเสริมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีการใช้อินเตอร์เน็ตเป็นช่องทางการสื่อสาร (2) วิเคราะห์เปรียบเทียบการจัดการความรู้ของหน่วยงานที่ประสบความสำเร็จ พบว่ามีแนวปฏิบัติทั้งที่เหมือนและแตกต่างกันทั้ง 3 ด้าน (3) การพัฒนาตัวแบบการจัดการความรู้ ของสำนักงานเขตหลักสี่ สามารถพิจารณาได้ทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ 1) องค์ประกอบการจัดการความรู้ ประกอบด้วย ผู้อำนวยการเขตหลักสี่ ข้าราชการเขตหลักสี่ คณะกรรมการจัดการความรู้ 2) กระบวนการจัดการความรู้ ประกอบด้วย 7 ขั้นตอน ได้แก่ การบ่งชี้ความรู้ การสร้างและแสวงหาความรู้ การจัดความรู้ให้เป็นระบบ การประมวลและกลั่นกรองความรู้ การเข้าถึงความรู้ การ แบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ การเรียนรู้ 3) ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จการจัดการความรู้ ได้แก่ ผู้อำนวยการเขตหลักสี่ ให้การสนับสนุนส่งเสริม แลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน บุคลากร เขตหลักสี่ มีการ ใฝ่รู้ ใฝ่เรียนรู้ การสื่อสารใช้ทุกรูปแบบทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.325-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการบริหารองค์ความรู้th_TH
dc.titleการพัฒนาตัวแบบการจัดการความรู้ : กรณีศึกษาสำนักงานเขตหลักสี่ กรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeThe development of knowledge management model : a case study of Laksi District Office, Bangkok Metropolitan Administrationth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2008.325-
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to : (1) study knowledge management of successful offices ; (2) comparatively analyze knowledge management of successful offices ; and (3) develop knowledge management model applicable to Laksi District Office, Bangkok Metropolitan Administration. This research was qualitative research. Offices studied were Revenue Department, Siriraj Hospital, Thailand Productivity Institute, TRUE Corporation Public Company Limited. In-depth interview was used as instrument and was conducted with 21 involved personnel comprised of experts, academicians, facilitators, and staff responsible for knowledge management. Secondary data was also collected. All data were then assembled and systematically analyzed. Research result revealed that (1) knowledge management of successful offices could be considered in 3 aspects : 1) knowledge management elements: it was found that the executives, personnel, and knowledge committee strongly encouraged and promoted knowledge management activities of personnel in the offices, 2) knowledge management process: most offices had 7 steps in the process 3) factors affecting knowledge management : the leaders recognized the importance of knowledge management, promoted learning, employed internet as communication channel, (2) the comparative analysis of knowledge management of successful offices revealed that some practices were similar while some were different in all 3 aspects (3) knowledge model developed for Laksi District Office, Bangkok Metropolitan Administration could be considered in 3 aspects: 1) knowledge management elements comprised of Laksi District Director, Laksi District personnel, Knowledge Management Committee, 2) knowledge management process comprised 7 steps: knowledge identification, knowledge creation and acquisition, knowledge organization, knowledge codification and refinement, knowledge access, knowledge sharing, and learning, 3) factors affecting knowledge management success were the supporting of Laksi District Director of knowledge sharing and learning, the eagerness to learn Laksi District personnel, the communication in all patterns both formal and informal.en_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
110158.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.46 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons