Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10032
Title: | การประเมินผลโครงการนำส่งยาโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่บ้าน ในช่วงการระบาดของโควิด-19 อำเภอศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ |
Other Titles: | Evaluation of Non-communicable Diseases’ Drug Home Delivery Project during the COVID-19 Outbreak in Sila Lat District, Si Sa Ket Province |
Authors: | นิตยา เพ็ญศิรินภา สมจิต อสิพงษ์, 2524- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ |
Keywords: | โครงการ--การประเมิน ยา การศึกษาอิสระ--วิทยาศาสตร์สุขภาพ |
Issue Date: | 2564 |
Publisher: | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช |
Abstract: | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประเมินผลโครงการนำส่งยาโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่บ้าน ด้านบริบทปัจจัยนำเข้า และกระบวนการในมุมมองของผู้ให้บริการ (2) เปรียบเทียบคะแนนความเหมาะ สมการดำเนิน โครงการฯ ของผู้ให้บริการระหว่างในและนอกเขตบริการปฐมภูมิ (Primmary Care Uni: PCU) โรงพยาบาลศิลาลาค (3) ประเมินผลการดำเนินงานโครงการฯ ด้านการได้รับยา และความพึ่งพอใจของผู้รับบริการ และ (4) เปรียบเทียบความพึ่งพอใจของผู้รับบริการ ระหว่างกลุ่มที่ได้รับยาก่อนนัดกับกลุ่มที่ไม่ได้รับธาก่อนนัด และระหว่างในกับนอกเขต PCU โรงพยาบาลศิลาลาด จังหวัดศรีสะเกษ รูปแบบการศึกษาเป็นการวิจัยประเมินผล กลุ่มตัวอย่างกลุ่มแรก คือ ผู้ให้บริการ เป็นผู้รับผิดชอบงานโรคไม่คิดต่อเรื้อรังของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (นอกเขต PCU) และ PCU โรงพยาบาลศิลาลาลาด แห่งละ 1 คน รวม 6 คน เลือกแบบเจาะจงและอาหาสมัครสาธาธารณสุขประจำหมู่บ้าน 44 หมู่บ้าน ๆ ละ 1 คน รวม 44 คน คน คัดเลือกโดยสุ่มอย่างง่าย กลุ่มตัวอย่างที่สอง คือ ผู้รับบริการ ซึ่งเป็นผู้ป่วยโรคเบาหวานและ โรคความดันโลหิตสูงที่นำส่งยา ที่บ้านในช่วงเดือนมิถุนายน 2563 ถึงเดือน พฤศจิยน 2564 จำนวน 2,898 คน สุ่มอย่างง่ายจำนวน 100 คน จากผู้ป่วยที่กลับมาตรวจที่โรงพยาบาลศิลาลาลภายหลังสถานการณ์โควิค-19 คลีคลาย เก็บข้อมูลระหว่างเดือนพฤษภาคม-มิถุนายน 2565 ด้วยแบบสอบถาม 2 ชุดที่ใช้กับผู้ให้บริการและผู้รับบริการ มีความเที่ยง 0.91 และ 0.81 ตามลำดับ เคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรฒนา การทคสอบแบบที่ และแมนวิทนิย์ยูผลการวิจัยพบว่า (1) การประเมินผลโครงการฯ ของผู้ให้บริการ มีคะแนนเฉลี่ยรายด้านและ โดยรวมอยู่ในระดับมาก (2) คะแนนเฉลี่ยความเหมาะ สมของการดำเนิน โครงการ ของผู้ให้บริการในเขต PCบ สูงกว่านอก เขต PCU โรงพยามาลศิลาลาค ทั้งรายด้านและ โดยรวม เมื่อเปรียบเทียบคะแนนพบว่าด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า และโดยรวมแตกต่างกันอย่างมิระดับนัยสำคัญทางสถิติ ติ ที่ระดับ ๑.05 ส่วนด้านกระบวนการไม่มีความแตกต่างกัน (3) การประเมินผลด้านการได้รับยา พบว่าผู้รับบริการในเขต PCU ได้รับยาก่อนนัด ในสัดส่วนมากกว่า นอกเขต PCU โรงพยาบาลศิลาลาด (ร้อยละ 5ธ.5 และ 33.9 คามสำคับ) และมีความพึ่งพอใจโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และ(4) เปรียบเทียบความพึ่งพอใจของผู้รับบริการที่ได้รับยาก่อนนัด กับไม่ได้รับยาก่อนนัด และผู้รับบริการในเขต PCU กับนอกเขต PCU โรงพยาบาลศิลาลาด พบว่าคะแนนความพึ่งพอใจใจไม่มีความกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ |
URI: | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10032 |
Appears in Collections: | Health-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
168791.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 13.91 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License