Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10036
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิศาล มุกดารัศมีth_TH
dc.contributor.authorชัยพร ยังจีน, 2528-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-10-26T07:39:30Z-
dc.date.available2023-10-26T07:39:30Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10036en_US
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) บทบาทของคณะกรรมการหมู่บ้านในการพัฒนาการเมืองในระบอบประชาธิปไตย (2) ปัญหาและอุปสรรคของคณะกรรมการหมู่บ้านในการพัฒนาการเมืองในระบอบประชาธิปไตย วิธีการดำเนินการวิจัย ใช้รูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง รวม 10 คน ได้แก่ ผู้ใหญ่บ้าน 4 คน และตัวแทนคณะกรรมการหมู่บ้าน 6 คน เครื่องมือที่ใช้คือแบบสัมภาษณ์ การสัมภาษณ์แบบเจาะลึกและเผชิญหน้า พร้อมกับสังเกตการณ์กลุ่มตัวอย่าง รวมทั้งศึกษาจากเอกสาร ผลงานวิจัย และแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง แล้วนามาวิเคราะห์ โดยใช้รูปแบบการวิเคราะห์เชิงพรรณนา ผลการวิจัย พบว่า (1) บทบาทของคณะกรรมการหมู่บ้านในการพัฒนาการเมืองในระบอบประชาธิปไตย ได้แก่ 1) การสร้างความปรองดองสมานฉันท์ 2) การจัดทำแผนพัฒนาหมู่บ้าน 3) การจัดทำธรรมนูญหมู่บ้าน 4) การส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการปกครองระบอบประชาธิปไตย 5) การส่งเสริมอุดมการณ์และวิถีชีวิตแบบประชาธิปไตยให้แก่ราษฎร 6) การจัดประชุมลงมติหรือประชาคมหมู่บ้าน 7) การได้มาของคณะกรรมการหมู่บ้าน (2) ปัญหาและอุปสรรคของคณะกรรมการหมู่บ้านในการพัฒนาการเมืองในระบอบประชาธิปไตย ได้แก่คณะกรรมการหมู่บ้านขาดความสามัคคีกันและมีความเห็นไม่ตรงกัน คณะกรรมการหมู่บ้านมีเวลาว่างไม่ตรงกันและไม่สามารถประชุมพร้อมเพรียงกันได้เนื่องจากประกอบอาชีพแตกต่างกันคณะกรรมการหมู่บ้านขาดความรู้ความเข้าใจในบทบาทของตนเอง คณะกรรมการหมู่บ้านขาดงบประมาณในการสนับสนุนการปฏิบัติงาน และคณะกรรมการหมู่บ้านบางคนไม่ได้สมัครใจที่จะมาเป็นคณะกรรมการหมู่บ้านแต่ถูกบังคับเลือกจากประชาชนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการเมืองการปกครอง--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectคณะกรรมการหมู่บ้าน--กิจกรรมทางการเมืองth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การเมืองการปกครองth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์-- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.titleบทบาทของคณะกรรมการหมู่บ้านต่อการพัฒนาการเมืองในระบอบประชาธิปไตย : กรณีศึกษาตำบลบางเตย อำเภอเมืองพังงา จังหวัดพังงาth_TH
dc.title.alternativeRoles of the village committees on political development in democracy : a case study of Bangtoie subistrict, Meuang district, Phang-nga Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to study the roles of village committees on political development in democracy and (2) to investigate the problems and obstacles of village committees on political development in democracy. This study was a qualitative research. There were 10 purposive samples, which included 4 village headmen and 6 village committee representatives. The research tools were in-depth interviews and observation. Then, the data from the literature review, related theoretical concepts, as well as the interview were analyzed using a descriptive analysis. This study found that (1) the roles of the village committees on political development in democracy included 1) cultivating reconciliation, 2) creating a village development plan, 3) creating a village constitution, 4) encouraging people to participate in democratic governance, 5) promoting democratic ideology and way of life for the people, 6) organizing voting or village community meetings and 7) acquisition of the village committee. (2) The problems and obstacles of the village committees on political development in democracy were that the village committees lacked unity. The village committees had different free times due to different occupations, so they could not have a meeting. They lacked knowledge and understanding of their roles and lacked a budget to support their operations. Moreover, some village committees were selected by the community without their voluntary participation.en_US
Appears in Collections:Pol-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
168783.pdfเอกสารฉบับเต็ม22.66 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons