Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10039
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพนมพัทธ์ สมิตานนท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorรพีพร เงินพักตร์, 2528--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-10-26T08:02:42Z-
dc.date.available2023-10-26T08:02:42Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10039-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษา ดังนี้ (1) เพื่อศึกษาระดับประสิทธิผลการประเมินระบบการควบคุมภายในโรงพยาบาลในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี (2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลการประเมินระบบการควบคุมภายในโรงพยาบาลในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี (3) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลการประเมินระบบการควบคุมภายในโรงพยาบาลในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรในการศึกษาครั้งนี้ คือ บุคลากรของโรงพยาบาลในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานีที่ผ่านเกณฑ์การประเมินระบบควบคุมภายใน จำนวน 6 แห่ง รวมบุคลากรทั้งสิ้น จำนวน 1,030 คน กลุ่มตัวอย่างได้จากการสุ่มจากประชากร โดยกําหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างตามสูตรการคำนวณของทาโร ยามาเน (Taro Yamane) ซึ่งกำหนดค่าความเชื่อมั่นที่ 95% และค่าความคลาดเคลื่อนไม่เกิน 5% ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่างรวมทั้งสิ้น จำนวน 288 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลและใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน การวิเคราะห์ปัจจัย และการวิเคราะห์สมการถดถอยเชิงพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับประสิทธิผลการประเมินระบบการควบคุมภายในโรงพยาบาลในสังกัดสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี โดยรวมอยู่ในระดับมาก และมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.09 (2) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลการประเมินระบบการควบคุมภายในโรงพยาบาลในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี ได้แก่ ปัจจัยด้านภาวะผู้นำ ปัจจัยด้านการมีส่วนร่วม ปัจจัยด้านการฝึกอบรม และปัจจัยด้านแรงจูงใจในการทำงาน พบว่า ทั้ง 5 ปัจจัยมีความสัมพันธ์กันในในทิศทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.01 และมีความสัมพันธ์กันในระดับสูง (3) ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลการประเมินระบบการควบคุมภายในโรงพยาบาลในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี พบว่า มีเพียงปัจจัยด้านการมีส่วนร่วมที่มีผลต่อประสิทธิผลการประเมินระบบการควบคุมภายในโรงพยาบาลในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี ซึ่งมีค่าน้ำหนักผลกระทบของตัวแปรอิสระเท่ากับ .612 และมีค่าสัมประสิทธิ์การถดถอยพหุคูณเท่ากับ 0.515 โดยสามารถพยากรณ์ประสิทธิผลการประเมินระบบการควบคุมภายในของโรงพยาบาลในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานีโดยรวมได้ร้อยละ 51.50 และมีค่าความคลาดเคลื่อนในการพยากรณ์เท่ากับ 0.37858 ในขณะที่ปัจจัยด้านภาวะผู้นำ ปัจจัยด้านการฝึกอบรม และปัจจัยด้านแรงจูงใจในการทำงาน ไม่มีผลต่อประสิทธิผลการประเมินระบบการควบคุมภายในth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการควบคุมภายในth_TH
dc.subjectโรงพยาบาล--ไทย--อุดรธานี--การประเมินth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลการประเมินระบบการควบคุมภายใน ของโรงพยาบาลในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานีth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting the effectiveness of internal control system assessment of hospitals under the Udon Thani Provincial Public Health Officeen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of the study were as follows: (1) to study the effectiveness of the internal control system assessment in hospitals under the Udon Thani Provincial Public Health Office; (2) to study the factors related to the effectiveness of the assessment of the internal control system in hospitals under the Office of Public Health. Udon Thani Provincial Public Health Office (3) to study the factors affecting the effectiveness of the evaluation of the internal control system in hospitals under the Udon Thani Provincial Public Health Office. This study was a quantitative research. The population in this study was personnel of 6 hospitals under the Udon Thani Provincial Public Health Office who passed the internal control system assessment criteria, totaling 1,030 personnel. The sample was randomly drawn from the population. The sample size was determined according to the Taro Yamane calculation formula, which was set at 95% confidence and an error of not more than 5%, resulting in a total sample size of 288 people. The questionnaire was used as a tool to collect data. Descriptive statistics used to analyze data were percentage, mean, and standard deviation and inferential statistics used in this research were pearson's correlation coefficient statistic factor analysis and analysis of multiple regression equations. The results of the study found that (1) the effectiveness of the internal control system assessment in hospitals under the Udon Thani Provincial Public Health Office is at a high level and the mean was 4.09. (2) Factors related to the effectiveness of the internal control system assessment of hospitals under the Udon Thani Provincial Public Health Office were leadership factors. Participation factor Training Factors and motivation factors for working, it was found that all 5 factors had a statistically significant positive correlation at 0.01 and a high level of correlation. (3) It was found that only the participation factor had an effect on the effectiveness of the evaluation of the internal control system in hospitals under the Udon Thani Provincial Public Health Office. The independent variable's impact weight was .612 and the multiple regression coefficient was 0.515. The effectiveness of the internal control system assessment of hospitals under the Udon Thani Provincial Public Health Office was 51.50% and the forecast error was 0.37858. Training Factors And the motivation factor did not affect the effectiveness of the internal control system assessmenten_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
168556.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.74 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons