Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10042
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เทพศักดิ์ บุณยรัตพันธุ์, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | จุมพล หนิมพานิช, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | เฉิดลักษณ์ แก่นหิรันต์ | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-10-26T08:17:05Z | - |
dc.date.available | 2023-10-26T08:17:05Z | - |
dc.date.issued | 2552 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10042 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลของระบบงานวิจัย และพัฒนาการทหารของกระทรวงกลาโหม 2) ศึกษาเปรียบเทียบระดับความมีประสิทธิผลของงานวิจัย และพัฒนาการทหารของกระทรวงกลาโหมในความสำเร็จของงานวิจัยแต่ละแผนงาน รวม 5 แผนงาน 3) ศึกษาและวิเคราะห์ถึงจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และข้อจำกัด ในระบบงานวิจัยและพัฒนาการทหารของ กระทรวงกลาโหม ในเรื่องวิสัยทัศน์ ยุทธศาสตร์ นโยบายการวิจัย และกระบวนการบริหารจัดการงานวิจัย และ 4) ศึกษาปัญหาอุปสรรค และเสนอแนวทางแก้ไขในการปรับปรูงระบบงานวิจัยและพัฒนาการทหาร ของกระทรวงกลาโหมให้เกิดประสิทธิผลยี่งขึ้น การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) นักวิจัย 2) บุคลากรจากหน่วยงานที่สนับสนุนการวิจัย 3) ที่ปรึกษาหรือนักวิชาการ และ 4) บุคลากรจากหน่วยงาน ผู้ใช้ 380 คน และเป็นการสัมภาษณ์ผู้มีประสบการณ์เกี่ยวกับงานวิจัย จำนวน 18 คน เครื่องมือที่ใชัในการ วิจัยเป็นแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ โดยการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ สถิติที่ใช้ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์การถดถอยพทุคูณแบบขั้นตอน และการวิเคราะห์ความ แปรปรวนทางเดียวเมื่อมีการวัดซํ้า โดยกำหนดนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สำหรับเครื่องมีอที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ ใช้เทคนิคการวิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค แล้วนำข้อมูลมา จัดกลุ่มคำตอบ ผลการวิจัยพบว่า 1) กระบวนการบริหารจัดการ ความชัดเจนของนโยบาย ความรู้ ความสามารถของนักวิจัย เป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลของระบบการวิจัยและพัฒนาการทหารของ กระทรวงกลาโหม โดยภายรวมสามารถอธิบายความผันแปรได้ร้อยละ 46.6 2) ระดับความมีประสิทธิผล ในความสำเร็จของงานวิจัยและพัฒนาการทหารของกระทรวงกลาโหมแต่ละแผนงาน พบว่า แผนงานการ วิจัยเพื่อดำรงสภาพหรือเพิ่มประสิทธิภาพยุทธโธปกรณ์ มีประสิทธิภาพมากที่สุด อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 3) จุดแข็งของระบบงานวิจัยที่พบ คือองค์กรมีอำนาจในการบริหารจัดการและงบประมาณแบบรวมศูนย์ใว้ที่ส่วนกลาง และกองทัพมีความต้องการใช้ผลงานวิจัยอยู่มาก จุดอ่อน คือ วิสัยทัศน์ ยุทธศาสตร์ และนโยบาย ไม่ชัดเจน รวมทั้งการบริหารจัดการขาดประสิทธิภาพ โอกาส คือ นโยบายระดับประเทศและหน่วยงาน ภายนอกพร้อมให้การสนับสนุน อุปสรรค คือ งบประมาณได้รับจัดสรรน้อย 4) ปัญหาที่พบส่วนใหญ่ เกี่ยวกับกระบวนการบริหารจัดการ การบริหารงานบุคลซึ่งเป็นนักวิจัย รวมทั้งด้านงบประมาณมีการอนุมัติ ล่าช้าและไม่คล่องตัวในการใช้จ่าย แนวทางในการแก้ไขปรับปรุง ควรให้มีการจัดทำแผนงานวิจัยหลัก ให้เกิดความชัดเจน มีการติดตามและประเมินผลโครงการอย่างต่อเนื่อง การกำหนดนโยบายควรกระทำ โดยหน่วยงานสำคัญที่เกี่ยวข้องด้วยหลายฝ่าย และควรจัดให้มีการพัฒนาเพิ่มพูนความรู้ให้กับนักวิจัย | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2009.245 | - |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | โครงการวิจัยของกระทรวงกลาโหม | th_TH |
dc.subject | กระทรวงกลาโหม. สำนักงานวิจัยและพัฒนาการทหารกลาโหม | th_TH |
dc.title | ประสิทธิผลของระบบงานวิจัยและพัฒนาการทหารของกระทรวงกลาโหม | th_TH |
dc.title.alternative | The effectiveness of Military Research and Development System, Ministry of Defense | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2009.245 | - |
dc.degree.name | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were to 1) study factors influencing the effectiveness of Military Research and Development System (MRDS), Ministry of Defense 2) compare the level of effectiveness of MRDS in terms of 5 research success plans 3) analyze the strength (ร), weakness (พ), opportunity (O) and threat (T) of MRDS in terms of vision, strategies, research policy and managerial process and 4) study problems and present appropriated approach to improve the effectiveness of MRDS. This was a survey research. The sample included 1) researchers 2) personnels from research supporting units 3) consultants or scholars and 4) 380 personnels from research consuming units as well as an interview performed with 18 research-experienced personnels. The quantitative analysis on questionnaire and interview forms was frequency, percentage, standard deviation, stepwise multiple regression and one way ANOVA with repeated measurement. The statistical significance was accepted at 0.5. Strength, weakness, opportunity and threat were qualitatively analyzed of the contents. Research findings revealed that (1) managerial process, clarity of policy, researcher’s competencies were influencing factors on MRDS, with ability to explain the variation at 46.6% (2) research plan on sustainability or material efficiency improvement was statistical significance at 0.5 (3) the strengths implied that the organization has centralized the managerial and budgeting activies as well as craved for research applications, the weaknesses implied the unclear visions and strategies of the organization together with ambiguous policy and inefficient management; opportunities implied the national policy and supporting from the external units; threats implied the limited budget (4) major problems were the managerial process on researchers including the slow approval of budget resulting in inflexible expense. We suggested that the organization should have vivid core research plan with informative assessment. The policy should be well-organized by all related units and the knowledgeable improvement program should be offered for all researchers | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
118414.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 9.08 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License