Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1004
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorฐปนรรต พรหมอินทร์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุจิตรา หังสพฤกษ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนพดล ขันติชัยมงคล, 2520--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-25T08:00:38Z-
dc.date.available2022-08-25T08:00:38Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1004-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2554th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ประกอบการและนายจ้างใน เขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร 2) ความคิดเห็นของผู้ประกอบการและนายจ้าง และปัจจัยด้านต่างๆ ใน การนำ นโยบายแรงงานต่างด้าว พ.ศ. 2547 ไปปฏิบัติ 3) ระดับความสำเร็จของผู้ประกอบการและนายจ้าง ในการนำ นโยบายแรงงานต่างด้าว พ.ศ. 2547 ไปปฏิบัติ และ 4) ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ประกอบการและนายจ้าง และปัจจัยด้านต่างๆ กับความสำเร็จในการนโยบายแรงงานต่างด้าว พ.ศ. 2547 ไปปฏิบัติในเขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างผู้ประกอบการและนายจ้าง จำนวน 103 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวม ข้อมูลเป็นแบบสอบถาม สถิติในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบสถิติ t-test และ One-way ANOVA ผลการวิจัย พบว่า 1) กลุ่มตัวอย่างที่มีมากที่สุดเป็นเพศชาย มีอายุตั้งแต่ 46 ปีขึ้นไป การศึกษา ปริญญาตรี ประกอบกิจการกลุ่มโรงงานอุตสาหกรรมและกิจการก่อสร้าง มีรายได้ 30,001-60,000 บาท มีจำ นวนแรงงาน 1-10 คน 2) ความคิดเห็นของผู้ประกอบการและนายจ้างเกี่ยวกับปัจจัยการนำนโยบาย แรงงานต่างด้าวไปปฏิบัติในภาพรวม อยู่ในระดับปานกลาง พิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ย สูงสุด คือ ความคล่องตัวในการปฏิบัติงาน 3) ความสำเร็จในการนำนโยบายแรงงานต่างด้าวไปปฏิบัติ โดยภาพรวมมีความสำเร็จอยู่ในระดับปานกลาง ประเด็นที่สำคัญที่สุด คือ การให้ความรู้ความเข้าใจใน ทัศนคติที่ดีแก่นายจ้าง/ผู้ประกอบการ และบุคลากรผู้ปฏิบัติงานทำให้การจัดระบบแรงงานต่างด้าวประสบความสำเร็จ 4) เพศ ประเภทของกิจการ และจำนวนแรงงานในครอบครอง มีความแตกต่างกับความสำเร็จ ในการนำนโยบายแรงงานต่างด้าวไปปฏิบัติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส าหรับข้อเสนอแนะเห็นควรให้มีการประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับนโยบายแรงงานต่างด้าว อย่างต่อเนื่อง และมีการกำหนดมาตรการต่างๆ เพื่อแก้ไขปัญหาให้ชัดเจนและเป็นรูปธรรมมากขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectแรงงานต่างด้าว -- ไทย -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ.th_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จในการนำนโยบายแรงงานต่างด้าว พ.ศ. 2547 ไปปฏิบัติ : ศึกษากรณีเขตหนองจอก กรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting the success in implementing the foreign labor policy in 2008 : a case study of Nong Chok District, Bangkokth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe study was conducted for the following four purposes : 1) to examine the personal factors of the business operators and employers ; 2) to find out their opinions and factors related to the implementation and factors related to the implementation of the foreign labor policy; 3) to reveal the level of success in the policy implementation; and 4) to find out the relationship between the personal factors and other factors and the success in the policy implementation. The sample consisted of 103 business operators and employers in Nong Chok District in Bangkok. A questionnaire was employed to collect the data. Frequency, percentage, mean and standard deviation were used to describe the data, and t-test and One-way ANOVA to test the hypotheses One-way ANOVA to test the hypotheses. Findings Most of the respondents were men, aged 46 year or more. The majority had a Bachelor’s degree and were in the industrial plant and construction sectors. They earned a monthly income of 30,001-60,000 baht. The number of their workers ranged from 1 to 10. As a whole, the implementation of the foreign labor policy was found to be moderate. When the individual dimensions were considered, work flexibility had the highest mean score, followed by understanding of the implementer, the lowest mean score belonged to public relations. The most important point was making business operators/employers and workers had a better knowledge and understanding and a better attitude would contribute to business success. When the hypotheses were tested, sex, type of business and number of workers employed had a significant impact on the business success at the 0.05 level. On the contrary, age, education, and income of the enterprise had no impact on the business success It was recommended that there should be broader and continuous public relations and that measures should be set to solve the problems in a more practical wayen_US
Appears in Collections:Pol-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib128977.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.41 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons