Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10054
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เจียรนัย ทรงชัยกุล | th_TH |
dc.contributor.author | ประนอม ปุวิเส | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-10-27T03:41:24Z | - |
dc.date.available | 2023-10-27T03:41:24Z | - |
dc.date.issued | 2550 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10054 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การแนะแนว))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างแบบจำลองหน่วยแนะแนวสำหรับศูนย์วิทยพัฒนาของ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช กลุ่มตัวอย่างได้มาจากการเลือกแบบเจาะจงจำนวน 183 คน ได้แก่ (1) ผู้เกี่ยวข้องกับงานแนะแนว 159 คน (2) ผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้องกับงานแนะแนว 19 คน และ (3) ผู้ทรงคุณวุฒิสำหรับประเมินและรับรอง แบบจำลอง 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามความคิดเห็นจากกลุ่มตัวอย่าง แบบสอบถาม ความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญโดยใช้เทคนิคเคลฟาย และแบบประเมินและรับรองสำหรับกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ ที่เกี่ยวข้องกับงานแนะแนว สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่ามัธยฐาน ค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ และค่าดัชนีความสอดคล้อง ผลการวิจัยพบว่า แบบจำลองหน่วยแนะแนวสำหรับศูนย์วิทยพัฒนาซึ่งตั้งอยู่ในส่วนภูมิภาค ทั่วประเทศของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 1) มีลักษณะเด่นที่สำคัญ ได้แก่ ปรัชญามุ่งเน้นการให้บริการ อย่างเกิดประสิทธิผลและมีประสิทธิภาพ ช่วยให้นักศึกษาพึ่งตนเองและสามารถพัฒนาตนเองได้ในการศึกษา ทางไกล ปณิธานเป็นหน่วยแนะแนวที่ให้บริการสนเทศอย่างมีคุณภาพเกี่ยวกับการศึกษาทางไกลแก่กลุ่มเป้าหมาย อย่างทั่วถึง เป้าหมายมุ่งเน้นการให้บริการแนะแนวด้านการศึกษา ด้านอาชีพ และด้านส่วนตัว-สังคม แก่กลุ่ม เป้าหมายอย่างต่อเนื่อง ด้วยสื่อที่ผู้รับบริการสะดวก ส่วนภารกิจการแนะแนวด้านการบริหาร ด้านการบริการ และ ด้านวิชาการ มีลักษณะเด่นที่สำคัญ คือ มีหัวหน้าหน่วยแนะแนวที่สำเร็จการศึกษาอย่างน้อยในระดับปริญญาโท ทางการแนะแนว มีการสร้างเครือข่ายการแนะแนวกับชุมชน มีข้อสนเทศที่หลากหลาย ทันสมัย พร้อมให้บริการ มีห้องให้การปรึกษาที่เป็นสัดส่วนโดยเฉพาะ จำนวน 1 ห้อง มีนักแนะแนวมืออาชีพปฏิบัติหน้าที่ให้การปรึกษา มีฐานข้อมูลของผู้รับบริการกลุ่มเป้าหมาย และเป็นแหล่งเผยแพร่ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ทางการแนะแนวกับ เครือข่ายการแนะแนว และ 2) เป็นแบบจำลองที่ดี สามารถนำไปใช้เป็นแนวทางที่เหมาะสมในการจัดตั้ง หน่วยแนะแนวได้ มีองค์ประกอบที่สำคัญของหน่วยแนะแนว ได้แก่ ปรัชญา ปณิธาน เป้าหมาย นโยบาย ภารกิจการแนะแนวทั้งด้านการบริหาร ด้านการบริการ และด้านวิชาการ อาคาร สถานที่ สภาพแวดล้อม วัสดุ อุปกรณ์ และสิ่งอำนวยความสะดวก | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.163 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนว--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ศูนย์วิทยพัฒนามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.subject | การแนะแนว--แบบจำลอง | th_TH |
dc.title | แบบจำลองหน่วยแนะแนวสำหรับศูนย์วิทยพัฒนาของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.title.alternative | A guidance unit model for the Regional Distance Centers of Sukhothai Thammathirat Open University | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2007.163 | - |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research was to construct a guidance unit model for the regional distance education centers of Sukhothai Thammathirat Open University. The research sample totaling 183 purposively selected persons consisted of (1) 159 personnel concerned with guidance work, (2) experts on guidance work, and (3) five experts for verifying and certifying the guidance model. The employed research instruments consisted of a questionnaire asking opinions of respondents in the sample, a questionnaire for experts to be used with the Delphi technique, and a verification and certification form for experts on guidance work. Statistics for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, median, inter-quartile range, and index of congruence (IOC). Research findings showed that the constructed guidance unit model for the regional distance education centers of Sukhothai Thammathirat Open University, which were located in regions throughout the country, had the following characteristics: (1) main outstanding characteristics of the model were the following: on philosophy, giving emphasis on provision of effective and efficient services that enable students to be self-reliable and achieve self-development in the distance education system; on resolution, to be a guidance unit that provides quality information service on distance education to the target groups thoroughly; on goal, giving emphasis on provision of educational, vocational, and personal-social guidance services to the target groups on a continuous basis with media convenient to service receivers; on the other hand, the guidance mission including the management, service, and academic affairs aspects had the following main outstanding characteristics: having the guidance unit head who earned at lease a master's degree in guidance; having established a guidance network with the community; having diversified and up-to-date information ready to provide services to clients; having a specific room to serve as the counseling room; having a professional counselor to be on duty for counseling services; having data bases of the target groups; and being a source for dissemination and exchange of guidance knowledge with guidance networks; and (2) it was a good model capable of providing appropriate guidelines for establishing a guidance unit; the main components of the guidance unit were the philosophy, resolution, goal, policy, and guidance mission including the management, services, academic affairs, buildings, environment, materials, equipment, and facilities. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | วัลภา สบายยิ่ง | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 10.13 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License