Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10062
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวาสนา ทวีกุลทรัพย์th_TH
dc.contributor.authorขนิษฐา คำหล้าth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-10-27T07:28:46Z-
dc.date.available2023-10-27T07:28:46Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10062en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ กลุ่ม สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เรื่อง วิถีชีวิตของคนในภูมิภาคตะวันออก เฉียงเหนือ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด 80/80 (2) ศึกษาความก้าวหน้าทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ และ (3) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนเกี่ยวกับชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้านไฮหย่อง (ภูเงินประชา นุกูล) เขตพื้นที่การศึกษาสกลนคร เขต 2 ที่กำลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2550 จำนวน 39 คน โดยการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย (1) ชุดการสอนแบบอิง ประสบการณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เรื่อง วิถีชีวิตของคนใน ภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำนวน 3 หน่วยประสบการณ์ คือ หน่วยประสบการณ์ที่ 7 การสำรวจ ลักษณะทางภูมิศาสตร์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หน่วยประสบการณ์ที่ 8 การปฏิบัติตามวัฒนธรรม ของคนในภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และหน่วยประสบการณ์ที่ 11 การจัดทำโครงการเศรษฐกิจ พอเพียงในโรงเรียนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (2) แบบทดสอบก่อนและหลังเผชิญประสบการณ์ แบบคู่ขนาน และ (3) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนเกี่ยวกับชุดการสอนแบบอิง ประสบการณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การหาประสิทธิภาพด้วย E,/E, การทดสอบ ค่าที ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า (1) ชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ที่ผลิตขึ้นทั้ง 3 หน่วย ประสบการณ์ มีประสิทธิภาพ 81.08/77.67, 82.08/78.33 และ 82.25/78.67 ตามลำดับเป็นไปตาม เกณฑ์ 80/80 (2) นักเรียนที่เรียนด้วยชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์มีความก้าวหน้าทางการเรียน เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) นักเรียนมีความคิดเห็นเกี่ยวกับชุดการสอน แบบอิงประสบการณ์ในระดับเห็นด้วยมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.123en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectนักเรียนประถมศึกษา--ไทย--สกลนครth_TH
dc.subjectเทคโนโลยีทางการศึกษาth_TH
dc.subjectสังคมศึกษา--แบบเรียนสำเร็จรูปth_TH
dc.titleชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เรื่องวิถีชีวิตของคนในภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เขตพื้นที่การศึกษาสกลนคร เขต 2th_TH
dc.title.alternativeExperience-based instructional packages in the social studies, religion and culture learning area on Northeastern people's way of life for Prathom Suksa V students in Sakon Nakhon Educational Service Area 2en_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.123-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were three-fold: (1) to develop a set of experience-based instructional packages in the Social Studies, Religion, and Culture Learning Area on Northeastern People's Way of Life for Prathom Suksa V students based on the 80/80 efficiency criterion; (2) to study the learning progress of the students learning from the experience-based instructional packages; and (3) to study the opinion of the students on the experience-based instructional packages. The research sample consisted of 39 randomly selected Prathom Suksa V students studying in the second semester of the 2007 academic year at Ban Hai Yong (Poo Ngern Prachanukul) School in Sakon Nakhon Educational Service Area 2. Research instruments comprised (1) three units of the experience-based instructional packages in the Social Studies, Religion, and Culture Learning Area on Northeastern People's Ways of Life, namely, Unit 7: Exploring Geographical Features of the Northeastern Region; Unit 8: Practicing Northeastern People's Culture; and Unit 11: Formulating Sufficiency Economy Projects in Northeastern Region Schools; (2) two parallel forms of an achievement test for pre-testing and post-testing; and (3) a questionnaire asking the students' opinion on the experience-based instructional packages. Statistics for data analysis were E,/E2 efficiency index, t-test, mean, and Standard deviation. Research findings showed that (1) the three units of experience-based instructional packages were efficient at 81.08/77.67; 82.08/78.33; and 82.25/78.67 respectively; thus meeting the set efficiency criterion of 80/80; (2) students learning from the experience-based instructional packages achieved significant learning progress at the .05 level; and (3) the opinion of the students on the experience-based instructional packages was at the highly agreeable level.en_US
dc.contributor.coadvisorชัยยงค์ พรหมวงศ์th_TH
dc.contributor.coadvisorสุมนทิพย์ บุญสมบัติth_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdf15.23 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons