Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10063
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อดิเรก วัชรพัฒนกุล | th_TH |
dc.contributor.author | อนุสรณ์ ศรีมาลัยกุล | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-10-27T07:37:53Z | - |
dc.date.available | 2023-10-27T07:37:53Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10063 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาพฤติกรรมและความพึงพอใจในการรับชมโทรทัศน์ภาคพื้นดินระบบดิจิตอล 2 ) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลและพฤติกรรมการรับชมโทรทัศน์ภาคพื้นดินระบบดิจิตอล รวมทั้งปัจจัยส่วนบุคคลที่ส่งผลต่อความพึงพอใจในการรับชมโทรทัศน์ภาคพื้นดินระบบดิจิตอล และ 3) เสนอแนวทางในการพัฒนาระบบหรือการจัดการโทรทัศน์ภาคพื้นดินระบบดิจิตอลการวิจัยเป็นแบบเชิงสำรวจ โดยใช้ตัวอย่าง จำนวน 400 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าสถิติพรรณนาได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทำการทดสอบสมมติฐานด้วยวิธี Chi-Square test วิธี t-test F-test และวิธี One Way ANOVA รวมทั้งทำการทดสอบปัจจัยที่ส่งผลต่อความพึงพอใจในการรับชมโทรทัศน์ภาคพื้นดินระบบดิจิตอลด้วยวิธีการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุคูณ ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่า 1) ผู้รับชมโทรทัศน์ภาคพื้นดินระบบดิจิทัล ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อยู่ในช่วงอายุระหว่าง 31 - 40 ปี มีการศึกษาสูงสุดที่ระดับปริญญาตรี ประกอบอาชีพข้าราชการ พนักงาน รัฐวิสาหกิจ หรือพนักงานของรัฐ และมีรายได้ต่อแดือนระหว่าง 10,001 - 20,000 บาท สำหรับพฤติกรรมการรับชมโทรทัศน์ภาคพื้นดินระบบดิจิทัล พบว่าผู้ชมส่วนใหญ่รับชมช่วงเวลาระหว่าง 18.01 - 22.00 น. โดยใช้เวลาในการรับชม 1 ครั้งต่อวัน ช่องรายการที่รับชมมากที่สุดคือช่อง MONO 29 และประเภทรายการที่รับชมมากที่สุดคือประเภทรายการข่าว 2) สำหรับผลจากการทดสอบสมมติฐาน ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 พบว่า เพศ อายุ การศึกษา อาชีพ และรายได้ มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมในการรับชมภาคพื้นดินระบบดิจิตอล นอกจากนั้น เพศ และอาชีพ ยังส่งผลต่อความแตกต่างของระดับความพึงพอใจในการรับชมโทรทัศน์ภาคพื้นดินระบบดิจิตอล สำหรับผลจากการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุคูณพบว่าเพศ การศึกษา และอาชีพ เป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อระดับความพึงพอใจในการรับชมโทรทัศน์ภาคพื้นดินระบบดิจิตอล 3) ในส่วนของแนวทางในการพัฒนาระบบหรือการจัดการโทรทัศน์ภาคพื้นดินระบบดิจิตอล ขอเสนอแนวทางให้ผู้ผลิตรายการควรมีการวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ์ด้านรายการที่นำเสนอเพื่อจูงใจให้ผู้บริโภคเลือกรับชมช่องรายการให้ตรงตามเป้าหมาย และสร้างผลตอบแทนสูงสุด | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกเศรษฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | ความพอใจของผู้ใช้บริการ. | th_TH |
dc.subject | โทรทัศน์กระจายเสียง | th_TH |
dc.subject | โทรทัศน์ดิจิตอล--ไทย | th_TH |
dc.subject | ผู้ชมโทรทัศน์--ไทย--ความพอใจของผู้ใช้บริการ. | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมและความพึงพอใจในการรับชมโทรทัศน์ภาคพื้นดิน ระบบดิจิตอลในเขตกรุงเทพมหานคร | th_TH |
dc.title.alternative | Factors affecting audiences' behavior and satisfaction toward digital terrestrial television system in Bangkok | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were 1) to study the behaviors and satisfaction in watching digital terrestrial television; 2) to study the relationships between personal factors and digital terrestrial television watching behaviors, also to study personal factors affecting the satisfaction in watching digital terrestrial television; and 3) to propose the guidelines for system development or management of digital terrestrial television. This is the survey research that used the samples of 400 people, the data were analyzed by descriptive statistics including frequency, percentage, mean, and standard deviation. The hypotheses were verified by the Chi-Square test, t-test F-test, and One Way ANOVA. Also, factors affecting satisfaction in watching digital terrestrial television were tested by multiple regression analysis. The results were as follows. 1) Digital terrestrial television viewers were mostly female, had an age between 31 - 40 years old, obtained the highest education of bachelor's degree, occupied either civil servants, state enterprise employee, or government employees, and had monthly income between 10,001 - 20,000 baht. For the watching behaviors of digital terrestrial television, it was found that the majority watched between 6:01 PM - 10 PM, spend time watching a time per day. The most-watched channel was MONO 29 and the most-watched program was news. 2) For the results of hypothesis testing at a statistically significant level of 0.05, it was found that gender, age, education, occupation, and income were correlated with digital terrestrial viewing behaviors. Also, gender and occupation affected the difference in satisfaction level on watching digital terrestrial television. The results of the multiple regression analysis revealed that gender, education, and occupation were the crucial factors that affected satisfaction levels in digital terrestrial television viewing. 3) Regarding the guidelines for system development or management of digital terrestrial television, we recommend that program producers should have plans and strategic management for their programs to motivate consumers to choose channels according to their target and generate the highest returns | en_US |
Appears in Collections: | Econ-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
168416.pdf | เอกสาณฉบับเต็ม | 14.41 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License