Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10067
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวาสนา ทวีกุลทรัพย์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorชัยยงค์ พรหมวงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorธนิศ ภู่ศิริ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorคะนอง อ่ำบุญ-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-10-27T08:15:45Z-
dc.date.available2023-10-27T08:15:45Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10067-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์แบบ อิงประสบการณ์ สาระการอาชีพ เรื่อง การทำกรอบรูป สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียน ขยายโอกาสทางการศึกษา เขตพื้นที่การศึกษาชัยนาท ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด 80/80 (2) ศึกษาความก้าวหน้าทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนชุดการเรียนอิเล็กทรอนิกส์แบบอิง ประสบการณ์ เรื่อง การทำกรอบรูป และ (3) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียน ที่มีต่อชุดการเรียนทาง สื่ออิเล็กทรอนิกส์แบบอิงประสบการณ์ เรื่อง การทำกรอบรูป กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบประสิทธิภาพ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียน วัดประชุมธรรม(สัจจะญาณ) จำนวน 35 คน ได้มาโดยสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย (1) ชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์แบบอิงประสบการณ์ จำนวน 3 หน่วยประสบการณ์ คือ หน่วย ประสบการณ์ที่ 4 การทำกรอบรูปด้วยกระดาษเปเปอร์มาเช่ หน่วยประสบการณ์ที่ 5 การทำกรอบรูปด้วย แผ่นทองเหลือง และหน่วยประสบการณ์ที่ 6 การทำกรอบรูปด้วยเรซิ่น (2) แบบทดสอบก่อนและหลังการ เผชิญประสบการณ์แบบคู่ขนาน และ (3) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อชุดการเรียนทาง อิเล็กทรอนิกส์แบบอิงประสบการณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ การหาประสิทธิภาพโดยใช้ E/E, การทดสอบค่าที ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า (1) ชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์แบบอิงประสบการณ์ที่ผลิตขึ้นทั้ง 3 หน่วยประสบการณ์ มีประสิทธิภาพ ดังนี้ 78.83/78.96, 79.92/80.83 และ 79.83/80.83 เป็นไป ตามเกณฑ์ที่กำหนด 80/80 (2) นักเรียนที่เรียนด้วยชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์แบบ อิงประสบการณ์มีความก้าวหน้าทางการเรียนเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) นักเรียนมีความคิดเห็นต่อชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์แบบอิงประสบการณ์อยู่ในระดับมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.150-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectเทคโนโลยีทางการศึกษาth_TH
dc.subjectอิเล็กทรอนิกส์--แบบเรียนสำเร็จรูปth_TH
dc.subjectการสอนด้วยสื่อ--ไทย--ชัยนาทth_TH
dc.titleชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์แบบอิงประสบการณ์ สาระการอาชีพ เรื่องการทำกรอบรุป สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา เขตพื้นที่การศึกษาชัยนาทth_TH
dc.title.alternativeE-learning packages for experience-based instruction in the career and technology learning area on photo frame making for Mathayom Suksa III students in basic education expansion schools in Chai Nat Educational Service Areath_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.150-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to: (1) develop e-Learning packages for experience - based instruction in the Career and Technology Learning Area on Artistic Photo Frame Making for Mathayom Suksa III students in basic education expansion schools in Chai Nat Education Service Area to meet the 80/80 efficiency criterion; (2) study the learning progress of students learning from e-Learning packages for experience-based instruction on Artistic Photo Frame Making; and (3) study the opinions of students on the quality of e-Learning Packages for experience-based instruction on Artistic Photo Frame Making The research sample employed for efficiency verification consisted of 35 Mathayom Suksa III students in Wat Prachumtham (Saccanana) School, obtained by cluster sampling. The employed research instruments comprised (1) three units of e-Learning packages for experience - based instruction, namely, Unit 4: Making Artistic Photo Frame with Paper Mache; Unit 5: Making Artistic Photo Frame with Brass; and Unit 6: Making Artistic Photo Frame with Resin;(2) two parallel forms of an achievement test for pre-testing and post-testing; and (3) a questionnaire to assess student's opinions on the e-learning packages for experience-based instruction. Statistics for data analysis were the E,/E2 efficiency index, t-test, mean, and standard deviation. Research finding showed that (1) the three units of e-Learning packages for experience. - based instruction were efficient at; 78.83/78.96, 79.92/80.83; and 79.83/80.83 respectively; thus meeting the set efficiency criterion of 80/80; (2) the learning achievement of the students learning from the e-Learning package for experience-based instructional was significantly increased at the .05. level; and (3) the opinion of the students on the quality of the e-Learning packages for experience- based instruction were at the "Highly Agreeable" level.en_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdf18.13 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons