Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10070
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วิศนันท์ อุปรมัย, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | สุรีย์ เข็มทอง, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | สุภมาส อังศุโชติ, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | ภัทริยา สังข์น้อย, 2520- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-10-30T02:23:35Z | - |
dc.date.available | 2023-10-30T02:23:35Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10070 | - |
dc.description | ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.(วิทยาการจัดการ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2563 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาองค์ประกอบของพฤติกรรมผู้บริโภคส่วนประสมการตลาดการสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ มูลค่าเพิ่ม และคุณค่าตราสินค้าอาหารฮาลาลในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคได้ของประเทศไทย และ (2 วิเคราะห์รูปแบบกลยุทธ์การคลาดที่มีอิทธิพลต่อคุณค่าตราสินค้าอาหารฮาลาลในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใด้ของประเทศไทยผลการวิจัยพบว่า (1) องค์ประกอบของพฤติกรรมผู้บริโภคประกอบด้ายตัวชี้วัด 4 ตัว คือ ผู้ที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อสิ่งที่ผู้บริโภคต้องการซื้อ เหตุผลที่ทำให้ผู้บริโภคซื้อ และกระบวนการการตัดสินใจซื้อส่วนประสมการตลาด ประกอบด้วยตัวชี้วัด 5 ตัว คือ ผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ ราคา การจัดจำหน่าย และการส่งเสริมการตลาด การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ ประกอบด้วย ตัวชี้วัต 5 ตัว คือ การโฆษณา การส่งเสริมการขายการขายโดยบุคคล การประชาสัมพันธ์ และการตลาดทางตรงและการตลาดดิจิทัลมูลค่าเพิ่ม ประกอบ 3 ตัว คือ คุณค่าด้านการใช้งาน คุณค่าด้านสังคม และคุณค่าด้านอารมณ์ และคุณค่าตราสินค้าอาหารสาลาลประกอบด้วยตัวชี้วัด 6 ตัว คือ ความโดดเด่นของตราสินค้า สมรรถภาพของตราสินค้า ภาพลักษณ์ตราสินค้าการพิจารณาตราสินค้า ความรู้สึกต่อตราสินค้า และความผูกพันต่อดราสินค้า ทั้งนี้ ตัวแปรแฝงได้ทั้ง 5 ด้วมีความสอดคล้องกับข้อมูลชิงประจักษ์ ซึ่งมีค่าดัชนีเป็นไปตามกณฑ์ที่กำหนค และ (2) คุณค่าตราสินค้าได้รับอิทธิพล ทางตรงจากมูลค่าเพิ่ม และได้รับอิทธิพลทางอ้อมจากพฤติกรรมผู้บริโภค ส่วนประสมการตลาด และการตลาดแบบบูรณาการโดยมีอิทธิพลส่งผ่านมูลค่าเพี่ม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | การตลาด--การวางแผน | th_TH |
dc.subject | ชื่อตราผลิตภัณฑ์--การตลาด | th_TH |
dc.subject | อาหารฮาลาล--การตลาด--ไทย | th_TH |
dc.title | รูปแบบกลยุทธ์การตลาดที่มีอิทธิพลต่อคุณค่าตราสินค้าอาหารฮาลาลในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย | th_TH |
dc.title.alternative | Marketing strategy models that lnfluence Halal Food brand equity in the southern border provinces of Thailand | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were (1) to study the consumer behavior components, marketing mix, integrated marketing communication, value added, and Halal Food brand equity in the southern border provinces of Thailand, and (2) to analyze marketing strategy models that influence Halal Food brand equity in the southern border provinces of Thailand. This research was a quantitative research. The data were collected influencing direct and indirect toward Halal Food brand equity in the southern border provinces of Thailand from 460 Muslim consumers living in the 5 southern border provinces of Thailand. The sample were over 20 years old. The instrument used in this study was the questionnaire with the reliability between 0.722 and 0.970. The stratified sampling was using by each provinces. The descriptive statistics for analyzing the data were frequency, percentage, means, standard deviation, skewness, and kurtosis, confirmatory factor analysis and structural equation modeling analysis. The results indicated that (1) in terms of consumer behavior components, there were 4 indicators which influences purchase decision. They were people influences purchase decision, what consumers want to buy, reason why consumers buy, and purchase decision. As for marketing mix consisted of 5 indicators which were products, package, price, place, and promotion. In terms of integrated marketing communications, there were 5 indicators as follows: advertising, sale promotion, personal selling, public relations, and direct and digital marketing. Similarly, value added consisted of 3 indicators: functional value, social values, and emotional values. Brand value Halal food consisted of 6 indicators: brand salience, brand performance, brand imagery, brand judgments, brand engagement. (2) Brand equity was directly influenced by value added and indirectly influenced by consumer behavior, marketing mix and integrated marketing communications through value added with statistically significant at the 0.05 level. | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
168838.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 26.33 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License