Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10075
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรรณพ จีนะวัฒน์th_TH
dc.contributor.authorสุขพร สังคเลิศth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-10-30T02:49:32Z-
dc.date.available2023-10-30T02:49:32Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10075en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (บริหารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550.th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ (1) ศึกษากระบวนการบริหารงานของสถานศึกษาขนาด เล็กพิเศษในเขตพื้นที่การศึกษาสระบุรี (2) เปรียบเทียบกระบวนการบริหารงานของสถานศึกษาขนาด เล็กพิเศษระหว่างขนาดเล็กพิเศษในเขตพื้นที่การศึกษาสระบุรี เขต 1 กับ เขต 2 (3) ศึกษาปัญหา กระบวนการบริหารงานของสถานศึกษาขนาดเล็กพิเศษในเขตพื้นที่การศึกษาสระบุรี (4) เปรียบเทียบ ปัญหากระบวนการบริหารงานของสถานศึกษาขนาดเล็กพิเศษ ระหว่างสถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา สระบุรี เขต 1 กับ เขต 2 และ (5) ศึกษาแนวทางการพัฒนากระบวนการบริหารงานของสถานศึกษา ขนาดเล็กพิเศษในเขตพื้นที่การศึกษาสระบุรี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ คือ สถานศึกษาขนาดเล็กพิเศษในเขตพื้นที่ การศึกษาสระบุรี เขต 1 และ เขต 2 ปีการศึกษา 2550 จำนวน 64 โรงเรียน โดยผู้ให้ข้อมูลได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน และกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวนทั้งสิ้น 192 คน ได้มาโดย การสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นแบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่า 5 ระดับ ที่ ผู้วิจัยสร้างขึ้นเอง มีความเที่ยง 0.78 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า (1) กระบวนการบริหารงานของสถานศึกษาขนาดเล็กพิเศษในเขตพื้นที่ การศึกษาสระบุรี เขต 1 และเขต 2 มีการปฏิบัติอยู่ในระดับปานกลาง (2) กระบวนการบริหารงานของ สถานศึกษาขนาดเล็กพิเศษในเขตพื้นที่การศึกษาสระบุรี เขต 1 กับ เขต 2 ไม่แตกต่างกัน (3) ปัญหา กระบวนการการบริหารงานของสถานศึกษาขนาดเล็กพิเศษในเขตพื้นที่การศึกษาสระบุรี เขต 1 และ เขต 2 อยู่ในระดับปานกลาง (4) ปัญหากระบวนการบริหารงานของสถานศึกษาขนาดเล็กพิเศษในเขตพื้นที่ การศึกษาสระบุรี เขต 1 กับ เขต 2 ไม่แตกต่างกัน และ (5) แนวทางการพัฒนากระบวนการบริหารงาน ของสถานศึกษาขนาดเล็กพิเศษในเขตพื้นที่การศึกษาสระบุรีที่สำคัญ ได้แก่ จัดให้มีแผนพัฒนาครูให้ สามารถนำหลักสูตรไปใช้และการพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับท้องถิ่น การประชุมชี้แจงเกี่ยวกับการ บริหารงานบุคคล มีแผนการระดมทรัพยากรเพื่อพัฒนาการศึกษา และการพัฒนาระบบเครือข่ายข้อมูล สารสนเทศทางการศึกษาth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.297en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการบริหารการศึกษาth_TH
dc.titleกระบวนการบริหารของสถานศึกษาขนาดเล็กพิเศษ ในเขตพื้นที่การศึกษาสระบุรีth_TH
dc.title.alternativeThe administrative process of extra small schools in Saraburi Educational Service Areaen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.297-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to: (1) study the administrative process of extra small schools in Saraburi Educational Service Area; (2) compare the administrative process of extra small schools in Saraburi Educational Service Area 1 with that of counterpart schools in Saraburi Educational Service Area 2; (3) study problems of the administrative process of extra small schools in Saraburi Educational Service Area; (4) compare problems of the administrative process of extra small schools in Saraburi Educational Service Area 1 with those of counterpart schools in Saraburi Educational Service Area 2; and (5) study guidelines for development of the administrative process of extra small schools in Saraburi Educational Service Area. The research sample consisted of 64 extra small schools in Saraburi Educational Service Areas 1 and 2. Informants were 192 school administrators, teachers, and basic education school board members, obtained by simple random sampling. The employed research instrument was a 5-scale rating scale questionnaire, developed by the researcher, with .78 reliability coefficient. Statistics for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. Research findings showed that (1) the administrative process of extra small schools in Saraburi Educational Service Areas 1 and 2 was practiced at the moderate level; (2) no significant difference was found between the administrative process of extra small schools in Saraburi Educational Service Area 1 and that of counterpart schools in Saraburi Educational Service Area 2; (3) problems of the administrative process of extra small schools in Saraburi Educational Service Areas 1 and 2 were at the moderate level; (4) no significant difference was found between problems of the administrative process of extra small schools in Saraburi Educational Service Area 1 and those of counterpart schools in Saraburi Educational Service Area 2; and (5) the main guidelines for development of the administrative process of extra small schools in Saraburi Educational Service Area were as follows: there should be teacher development plans to enable teachers to implement the curriculum and develop school-based curriculum relevant to local conditions; there should be meetings concerning personnel administration; there should be plans to mobilize resources for educational development; and educational information network system should be established.en_US
dc.contributor.coadvisorนงเยาว์ อุทุมพรth_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.33 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons