Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10093
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรรณพ จีนะวัฒน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorดวงเดือน สุวรรณจินดา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorน้ำฝน ศรีใส, 2530--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-10-30T06:13:38Z-
dc.date.available2023-10-30T06:13:38Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10093-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (บริหารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาบทบาทในการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนเครือข่ายสะเต็มศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2) เปรียบเทียบบทบาทในการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนเครือข่ายสะเต็มศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำแนกตามประสบการณ์การบริหารการศึกษาและประเภทของโรงเรียน และ (3) ศึกษาแนวทางการพัฒนาบทบาทในการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนเครือข่ายสะเต็มศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 76 คน ครู หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ การงานอาชีพและเทคโนโลยี จำนวน 228 คน รวมทั้งสิ้น จำนวน 304 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับบทบาทในการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษา มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .96 การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนเครือข่ายสะเต็มศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีระดับการปฏิบัติตามบทบาทในการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาโดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับดีมาก (2) บทบาทในการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษา จำแนกตามประสบการณ์การบริหารและประเภทสถานศึกษา ไม่แตกต่างกัน และ (3) แนวทางการพัฒนาบทบาทในการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษา ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาควรกาหนดนโยบาย วางแผนการจัดทาหลักสูตร มีการจัดหาสื่ออุปกรณ์ด้าน ICT สัญญาณอินเทอร์เน็ต สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการประเมินผู้เรียนตามสภาพจริง พัฒนาแหล่งการเรียนรู้ภายในและภายนอกที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา แต่งตั้งคณะกรรมการนิเทศ กำกับติดตาม ส่งเสริมให้ครูพัฒนาตนเอง สร้างเครือข่าย ขยายผลและเผยแพร่การเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectผู้บริหารโรงเรียน--ไทยth_TH
dc.subjectโรงเรียน--การบริหารth_TH
dc.subjectการศึกษาขั้นพื้นฐานth_TH
dc.titleบทบาทในการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนเครือข่ายสะเต็มศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานth_TH
dc.title.alternativeThe roles in promoting learning management based on STEM education approach of STEM education network schools under the Office of the Basic Education Commissionen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were (1) to study the roles in promoting learning management based on STEM Education approach of STEM Education network school administrators under the Office of the Basic Education Commission; (2) to compare the roles in promoting learning management based on STEM Education approach of STEM Education network school administrators under the Office of the Basic Education Commission as classified by educational administration experience and type of school; and (3) to study guidelines for development of the roles in promoting learning management based on STEM Education approach of STEM Education network school administrators under the Office of the Basic Education Commission. The research sample totaling 304 school personnel consisted of 76 school administrators and 228 heads of the Science, Mathematics, and Career and Technology Learning Areas of STEM Education network schools, all of whom were obtained by stratified random sampling. The employed research instrument was a questionnaire on the roles in promoting learning management based on STEM Education approach of STEM Education network school administrator, with reliability coefficient of .96. Research data were analyzed using the frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, one-way ANOVA, and content analysis. Research findings showed that (1) School administrators in STEM Education network schools under the Office of the Basic Education Commission performed their overall and specific aspects of the roles in promoting learning management based on STEM Education approach at the excellent level; (2) school administrators who had different educational administration experiences and administered different types of schools did not differ significantly in performing their roles for promoting learning management based on STEM Education approach; and (3) suggestions concerning the roles of school administrators in promoting learning management based on STEM Education approach were as follows: the school administrators should formulate the policy and plans for curriculum development; provide ICT instructional media, equipment, and Internet signal; equip the school personnel with the understanding of authentic assessment; develop learning resources both within and outside the school for facilitation of STEM Education learning management; appoint a committee for supervising, monitoring and promoting the teachers to engage in self-development; and create the network, extend the network and disseminate then_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
167084.pdfเอกสารฉบับเต็ม23.83 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons