Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10106
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสินีนุช ครุฑเมือง แสนเสริม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสรินทร์ ตันเส้า, 2531--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-10-30T07:19:05Z-
dc.date.available2023-10-30T07:19:05Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10106-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม.(ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพพื้นฐานส่วนบุคคล สภาพทางสังคมและเศรษฐกิจของเกษตรกร 2) สภาพการผลิตลำไยของเกษตรกร 3) การยอมรับและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการยอมรับเทคโนโลยีการผลิตลำไยคุณภาพของเกษตรกร และ 4) ปัญหาและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการยอมรับเทคโนโลยีในการผลิตลำไยของเกษตรกร ประชากรในการวิจัย คือ เกษตรกรกลุ่มแปลงใหญ่ลำไย พ.ศ. 2563 ในอำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูน จำนวนทั้งสิ้น 627 คน กําหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้สูตรคํานวณของทาโร่ยามาเน่ ที่ค่าความคลาดเคลื่อน 0.07 ได้กลุ่มตัวอย่างจํานวน 154 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่ายโดยการจับสลากจากรายชื่อเกษตรกรตามสัดส่วน เก็บรวบรวมข้อมูล โดยใช้แบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ย ส่วนเบียงเบนมาตรฐาน การจัดอันดับ และวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า 1) เกษตรกร ร้อยละ 63.6 เป็นเพศชาย มีอายุเฉลี่ย 56.83 ปี จบการศึกษาในระดับประถมศึกษา มีแรงงานในครัวเรือนเฉลี่ย 2.71 คน มีผลผลิตลำไย ปีการผลิต 2562/63 เฉลี่ย 1,128.57 กิโลกรัม/ไร่ มีต้นทุนในการผลิตลำไยปีการผลิต 2562/63 เฉลี่ย 10,482.47 บาท/ไร่ มีรายได้จากการขายผลผลิตลำไย ปีการผลิต 2562/63 เฉลี่ย 22,859.42 บาท/ไร่ ไม่มีการกู้ยืมเงินจากแหล่งเงินทุน 2) เกษตรกรมีขนาดพื้นที่ผลิตลำไยเฉลี่ย 3.46 ไร่ ส่วนใหญ่ปลูกลำไยในพื้นที่ราบ อายุต้นลำไยที่ให้ผลผลิตเฉลี่ย 21.04 ปี คนที่ปลูกเป็นดินร่วนปนทราย ใช้น้ำจากแม่น้ำ ปลูกลำไยพันธุ์อีดอซื้อกิ่งตอนลำไยมาปลูกเอง ระยะการปลูก 8x8 เมตร มีการตัดแต่งกิ่งลำไย สังเกตต้นลำไยก่อนการให้ปุ๋ย ให้น้ำด้วยระบบสปริงเกอร์ ใช้แรงงานคน ในการกำจัดวัชพืชด้วยวิธีการตัดหญ้า มีการพ่นสารป้องกันกำจัดโรคพืชและศัตรูพืช เก็บเกี่ยวผลผลิตโดยใช้เกณฑ์อายุของผลลำไย เก็บเกี่ยวลำไยแบบเป็นช่อ การขายผลผลิตแบบรูปร่างเพื่อส่งเข้าโรงงานแปรรูปอบแห้งลำไย ขายผลผลิตลำไยให้กับพ่อค้าภายในท้องถิ่น ส่งผู้รับซื้อเป็นผู้กำหนดราคาซื้อ-ขาย 3) เกษตรกรส่วนใหญ่ยอมรับเทคโนโลยีการผลิตลำไยคุณภาพ ด้านการตัดแต่งกิ่งลำไย การชักนำการออกดอก การให้น้ำลำไย การให้ปุ๋ยลำไยแต่มีการยอมรับด้านการตัดแต่ง ผลลำไยค่อนข้างน้อย ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการยอมรับเทคโนโลยีในการผลิตลําไยคุณภาพของเกษตรกร ได้แก่ ปัญหาการให้ปุ๋ยลำไย ปัญหาการตัดแต่งกิ่งลําไย ปัญหาการชักนําการออกดอก และปัญหาการตัดแต่งช่อผลลําไย ที่ระดับนัยสำคัญยิ่งทางสถิติ 0.01 และแรงงานในการผลิตลำไย ปริมาณผลผลิตลำไย รายได้จากการขายผลผลิต และปัญหาการให้น้ำลำไย ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 4) เกษตรกรมีปัญหาเกี่ยวกับการยอมรับเทคโนโลยีการผลิตลำไยคุณภาพด้านการตัดแต่งช่อผลลําไยมากที่สุด และเกษตรกรเห็นด้วยกับข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการยอมรับเทคโนโลยีการผลิตลำไยคุณภาพด้านการตัดแต่งช่อผลลําไยมากที่สุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectลำไย--การผลิต--ไทย--ลำพูนth_TH
dc.titleปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการยอมรับเทคโนโลยีการผลิตลำไยคุณภาพของเกษตรกรกลุ่มแปลงใหญ่ลำไยในอำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูนth_TH
dc.title.alternativeFactors relating to the adoption of quality longan production technology of longan collaborative farming group in Mae Tha district, Lamphun Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study 1) personal basic conditions and social and economic conditions of farmers 2) longan production conditions of farmers 3) the adoption and factors relating to the adoption of quality longan production technology of farmers 4) problems and suggestions on technology adoption for longan production of farmers. The population in this research was 627 longan collaborative farming group farmers in year 2020 in Mae Tha district, Lamphun province. The sample size of 154 people was determined by using Taro Yamane formula with an error value of 0.07 and simple random sampling method via proportionate lotto selection of farmers’ name lists. Data was collected through conducting interview and was analyzed by using descriptive analysis such as frequency, percentage, minimum value, maximum value, standard deviation, ranking, and multiple regression. The results of the research showed that 1) 63.6% of farmers were male with the average age of 56.83 years and completed primary school education. The average labor in the household was 2.71 people, the average longan productivity in the production year of 2019/2020 was 1,128.57 kilogram/Rai, the average longan production costs in the production year of 2019/20 was 10,482.47 Baht/Rai, the average income from selling longan products in the production year of 2019/20 was 22,859.42 Baht/Rai with out money loans from any funding resources. 2) Farmers had the average area for longan production of 5.46 Rai. Most of the longan production land was in the flat land. The average longan tree age which able to yielded fruit was 21.04 year. Longan plants were cultivated in sandy loam soil. They used water from river. Farmer bought the branches of E-dor longan and plant by themselves. The planting distance was 8x8 meters. They prunned the longan branches, observed the longan plants before fertilization, and using sprinkler system for watering. Farmers used manual labors to remove weed by mowing. They protect plant disease and pesticides controls by spraying method, harvesting by using longan age criteria, and harvesting in the form of bunches. They also sold the products in the form of individual fruits to longan processing factories, sold the products to local merchants called “Lhong”. Lhong was the pricing determinator. 3) Most of the farmers adopted the quality longan production technology in the aspects of pruning flower inducing, watering, and fertilization. However, they adopted the thinning of the fruit branch at the low level. Factors relating to the adoption of quality longan production technology of farmers were problem of fertilizer application, longan branch pruning, trimming flower inducing, and problem in longan fruit thinning at statistically significant level of 0.01 while problem of labor used in longan production, quantity of longan fruits, income from longan products inducing flowering and problem of watering were at statistically significant level of 0.05. 4) Farmers faced with the problem of quality longan production technology thinning the fruit branch at the highest level and they agreed with suggestions on the adoption of quality longan production thinning technology at the highest level.en_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
165531.pdfเอกสารฉบับเต็ม18.53 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons