Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10112
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพลสราญ สราญรมย์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorบำเพ็ญ เขียวหวาน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอัญชลี เพียโคตร, 2537--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-10-30T07:57:10Z-
dc.date.available2023-10-30T07:57:10Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10112-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม.(ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพข้อมูลพื้นฐานของผู้เข้ามาศึกษาดูงานที่ศูนย์เรียนรู้ อำเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี 2 ความคิดเห็นเกี่ยวกับการดำเนินการของศูนย์เรียนรู้ อำเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี 3) ความคิดเห็นเกี่ยวกับการพัฒนาศูนย์เรียนรู้ และ 4) แนวทางการพัฒนาศูนย์เรียนรู้ประชากรที่ใช้ในการศึกษาแบ่งเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ 1) ผู้ที่เข้ามาศึกษาดูงาน ณ ศูนย์เรียนรู้ อำเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี ในปี 2562 จำนวน 350 คน กำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรทาโร่ ยามาเน่ ได้กลุ่มตัวอย่าง 187 คน สุ่มตัวอย่างแบบง่าย และ 2) ผู้เข้าร่วมเวทีสนทนากลุ่ม ได้แก่ คณะกรรมการ 10 คน สมาชิก 10 คนรวมทั้งสิ้น 20 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การจัดอันดับ และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) ผู้เข้ามาศึกษาดูงานส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุเฉลี่ย 38 ปี การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกอบอาชีพเกษตรกรเป็นหลัก 2) เห็นด้วยในระดับมากที่สุด 3 ประเด็น ได้แก่ ด้านวัสดุอุปกรณ์และอาคารสถานที่ ด้านการบริหารจัดการด้านเนื้อหาการฝึกอบรมฐานการเรียนรู้ เห็นด้วยในระดับมาก 1 ประเด็น ได้แก่ ด้านบุคลากร และในระดับน้อย 1 ประเด็น ได้แก่ ด้านงบประมาณ 3) ความคิดเห็นเกี่ยวกับการพัฒนาศูนย์เรียนรู้ด้านปัจจัยภายใน พบว่ามีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด 3 ประเด็น ได้แก่ วัฒนธรรมการทํางาน ภาวะความเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง และโครงสร้างของกลุ่ม ด้านปัจจัยภายนอก พบว่าเห็นด้วยอยู่ในระดับมากที่สุด ประเด็น ได้แก่ นโยบายรัฐที่เกี่ยวข้องในระดับมาก 1 ประเด็น ได้แก่ ความร่วมมือกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ในระดับปานกลาง 1 ประเด็น ได้แก่ เทคโนโลยีสารสนเทศ 4) การพัฒนาศูนย์เรียนรู้ พบว่ามี 4 แนวทาง ได้แก่ แนวทางการจัดทําข้อเสนอโครงการเพื่อเสนอของบประมาณ การพัฒนาองค์ความรู้แก่คณะกรรมศูนย์เรียนรู้ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของศูนย์เรียนรู้ และการพัฒนากิจกรรมภายใต้การสนับสนุนของรัฐ.th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectศูนย์สังคม--ไทย--ปราจีนบุรีth_TH
dc.titleแนวทางการพัฒนาศูนย์เรียนรู้ ตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง อำเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรีth_TH
dc.title.alternativeDevelopment guidelines for a learning center based on sufficiency economy philosophy, Na Di District, Prachin Buri Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study (1) basic information conditions of visitors at the learning center in Na Di district, Prachin Buri province, (2) opinion toward the operation of the learning center, (3) opinion toward the development of the learning center and (4) development guidelines of the learning center. The population of this study were consisted of 2 groups: 1) 350 visitors at the learning center in Na Di district, Prachin Buri province. The sample size of 187 people was determined by using Taro Yamane formula and simple random sampling method was employed . 2) 20 focus group participants which consisted of 10 committees and 10 members. from whom were the entire population. Data were analyzed by using statistic such as frequency, percentage, minimum value, maximum value, mean, standard deviation, ranking, and content analysis. The results of the research revealed that (1) most of the visitors were male with the average age of 38 years old and completed high school level. Most of them were farmers. (2) Their opinions toward the operation of the learning center showed that there were 3 aspects at the highest level which included materials and equipments and facilities aspect, administration aspect, training content and learning base aspect, with 1 aspect at the high level ; personnel aspect and 1 aspect at the low level; funding aspect. (3) The opinions about the development of the learning center regarding the internal factors it was found that 3 aspects were at the highest level such as work culture , leadership of changing and group structure. For the external factors, it was found 1 aspect at the highest level which was the relevant government policies,1 aspect at the high level in the cooperation with staheholders, and 1 aspect at the moderate level in information technology. (4) The development guidelines for the learning center consisted of 4 approaches which were the project proposal creation for funding , knowledge development for committee of learning center , infrastructure development of the learning center and activity development under the government supporten_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
165532.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.35 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons