Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10118
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทวีศักดิ์ จินดานุรักษ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorดวงเดือน สุวรรณจินดา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorชัยชนม์ หลักทอง, 2533--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-10-30T08:24:51Z-
dc.date.available2023-10-30T08:24:51Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10118-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (วิทยาศาสตร์ศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนกับหลังเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนที่เรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้โดยใช้บทเรียนเว็บช่วยสอนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต และ (2) ศึกษาเจตคติต่อวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนที่ได้เรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้โดยใช้บทเรียนเว็บช่วยสอนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เรื่อง เอกภพ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้คือ นักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนบ้านม่วงพิทยาคม จังหวัดสกลนคร จำนวน 39 คน ได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองได้แก่ (1) แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง เอกภพ จำนวน 22 แผน (2) บทเรียนเว็บช่วยสอนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เรื่อง เอกภพ (3) แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ (4) แบบวัดเจตคติต่อวิซาวิทยาศาสตร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) คะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังได้เรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้โดยการใช้บทเรียนเว็บช่วยสอนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องเอกภพสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (2) นักเรียนที่ได้เรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้โดยใช้บทเรียนเว็บช่วยสอนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเรื่อง เอกภพ มีเจตคติต่อวิชาวิทยาศาสตร์อยู่ในระดับมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกวิทยาศาสตร์ศึกษา --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)--ไทย--สกลนครth_TH
dc.subjectการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้th_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์--คอมพิวเตอร์ช่วยการสอนth_TH
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้โดยใช้บทเรียนเว็บช่วยสอนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องเอกภพ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านม่วงพิทยาคม จังหวัดสกลนครth_TH
dc.title.alternativeThe effects of inquiry learning management using web-based instruction on the internet in the science topic of Universe for Mathayom Suksa III students at Ban Muang Pittayakhom School in Sakon Nakhon Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to compare the pre-learning and postlearning science learning achievements of students who learned under the inquiry learning management using web-based instruction on the Internet; and (2) to study the attitudes toward science subject of students who learned under the inquiry learning management using webbased instruction on the Internet in the science topic of Universe. The research sample consisted of 39 Mathayom Suksa III students at Ban Muang Pittayakhom School in Sakon Nakhon province, obtained by cluster random sampling. The instruments used in this experiment were (1) 22 learning management plans on the science topic of Universe, (2) a web-based instruction on the Internet program in the science topic of Universe, (3) a science learning achievement test for Mathayom Suksa III level, and (4) a scale to assess attitudes toward science subject. Statistics employed for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. The research results revealed that (1) the post-learning science learning achievement mean score of the students after learning under the inquiry learning management using web-based instruction on the Internet was significantly higher than their pre-learning counterpart mean score at the .05 level of statistical significance; and (2) the attitudes towards science subject of the students who had learned under the inquiry learning management using web-based instruction on the Internet in the science topic of Universe were at the high level.en_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
167082.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.25 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons