Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10119
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวาสนา ทวีกุลทรัพย์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorชัยยงค์ พรหมวงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorธนิศ ภู่ศิริ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเพายุพา จันทร์ชนะ-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-10-30T08:29:53Z-
dc.date.available2023-10-30T08:29:53Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10119-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาชุดฝึกอบรมทางอิเล็กทรอนิกส์แบบอิงประสบการณ์ เรื่อง การทำแอนิเมชันด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับบุคลากรผลิตสื่อ สำนักเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด 70/70 (2) ศึกษาความกว้าหน้าของผู้รับ การฝึกอบรมที่เรียนด้วยชุดฝึกอบรมทางอิเล็กทรอนิกส์แบบอิงประสบการณ์ เรื่อง การทำแอนิเมชันด้วย โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และ (3) ศึกษาความคิดเห็นของผู้รับการฝึกอบรมที่เรียนด้วยชุดฝึกอบรมทาง อิเล็กทรอนิกส์แบบอิงประสบการณ์ เรื่อง การทำแอนิเมชันด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบประสิทธิภาพคือ บุคลากรผู้ผลิตสื่อ สำนักเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จำนวน 29 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย (1) ชุดฝึกอบรมทางอิเล็กทรอนิกส์แบบอิงประสบการณ์จำนวน 3 หน่วยประสบการณ์ คือ หน่วย ประสบการณ์ที่ 1 การใช้เครื่องมือเพื่อการสร้างภาพในการทำแอนิเมชัน หน่วยประสบการณ์ที่ 2 การสร้าง รูปภาพและการปรับเปลี่ยนสี และ หน่วยประสบการณ์ที่ 3 การทำแอนิเมชันของสื่อการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 (2) แบบทดสอบก่อนและหลังการเผชิญประสบการณ์แบบคู่ขนาน และ (3) แบบสอบถาม ความคิดเห็นของผู้รับการฝึกอบรมที่มีต่อชุดฝึกอบรมทางอิเล็กทรอนิกส์แบบอิงประสบการณ์ สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าประสิทธิภาพ E,/E, การทดสอบค่าที ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า (1) ชุดฝึกอบรมทางอิเล็กทรอนิกส์แบบอิงประสบการณ์ที่ผลิตขึ้นทั้ง 3 หน่วย ประสบการณ์ มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด 70/70 (E,/E, มีคำดังนี้ 70.40/67.50, 71.65/67.50, และ 69.85/70.00 ตามลำกดับ) (2) ผู้รับการฝึกอบรมที่เรียนด้วยชุดฝึกอบรมทางอิเล็กทรอนิกส์แบบอิงประสบการณ์มี ความก้าวหน้าทางการเรียนเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) ผู้รับการฝึกอบรมที่เรียนด้วยชุด ฝึกอบรมทางอิเล็กทรอนิกส์แบบอิงประสบการณ์มีความคิดเห็นต่อคุณภาพของชุดฝึกอบรมทางอิเล็กทรอนิกส์ แบบอิงประสบการณ์อยู่ในระดับเห็นด้วยมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.83-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักเทคโนโลยีการศึกษา --บุคลากรth_TH
dc.subjectสื่ออิเล็กทรอนิกส์th_TH
dc.subjectการฝึกอบรม--การสอนด้วยสื่อth_TH
dc.subjectการสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยคอมพิวเตอร์th_TH
dc.titleการพัฒนาชุดฝึกอบรมทางอิเล็กทรอนิกส์แบบอิงประสบการณ์ เรื่องการทำแอนิเมชันด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ สำหรับบุคลากรผลิตสื่อ สำนักเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of experience-based e-training packages on creating animation by computer program for media production personnel of Office of Educational Technology, Sukhothai Thammathirat Open Universityth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.83-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were (1) to develop experience-based e-training packages on Creating Animation by Computer Program for media production personnel of the Office of Educational Technology, Sukhothai Thammatirat Open University based on the 70/70 efficiency criterion; (2) to study the learning progress of The trainee learning from the experience-based e-Training packages on Creating Animation by Computer Program; and (3) to study the opinions of the trainees on the quality of the experience-based e-Training packages. The research sample employed for testing the efficiency consisted of 29 purposively selected media production personnel of the Office of Educational Technology, Sukhothai Thammathirat Open University. Research tools comprised (1) three units of experience-based e-Training packages on Creating Animation by Computer Program, namely; Unit 1: Tools for Creating Images; Unit 2: Creating Images and Changing Colors; Unit 3: Creating Animation for Mathayom Suksa I Science Instructional Media; (2) two parallel forms of an achievement test for pre-testing and post-testing; and (3) a questionnaire asking the trainees' opinions on the quality of the experience-based e-Training packages. Statistics used were the E,/E2 efficiency index, t-test, mean, and standard deviation. Research findings showed that (1) the three units of experience-based e-Training packages had efficiency indices of 70.40/67.50, 71.65/67.50, and 69.85/70.00 respectively, thus meeting the set 70/70 efficiency criterion; (2) the learning progress of the trainee learning from the experience-based e-Training packages was significantly increased at the .05 level; and (3) the opinion of the trainees on the quality of the experience-based e-Training packages were at the highly agreeable levelen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม22.76 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons