Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1011
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorยุทธพร อิสรชัย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorธโสธร ตู้ทองคํา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนุกูล พูลชัย, 2502--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-26T00:24:34Z-
dc.date.available2022-08-26T00:24:34Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1011-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2557th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ทัศนคติและความรู้ความเข้าใจของประชาชนในตำบลทรัพย์อนันต์เกี่ยวกับโรงงานไฟฟ้าพลังงานชีวมวล (2) รูปแบบการต่อสู้ของชุมชนต่อการสร้างโรงงานไฟฟ้าพลังงานชีวมวลในตำบลทรัพย์อนันต์ อำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร กลุ่มตัวอย่าง คือ ประชาชนที่อาศัยอยู่ในตำบลทรัพย์อนันต์ จำนวน 364 คน และ ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้นำชุมชน ผู้นำท้องถิ่นและปราชญ์ชาวบ้านในตำบล จำนวน 17 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับการต่อสู้ของชุมชน จำนวน 364 ชุด สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการจัดหมวดหมู่ข้อมูลเนื้อหาในเชิงคุณภาพเพื่อ เชื่อมโยงข้อมูลมาวิเคราะห์และอธิบายผลเชิงพรรณา ผลการวิจัยพบว่า (1) ทัศนคติและความรู้ความเข้าใจของประชาชนในตำบลทรัพย์ อนันต์เกี่ยวกับโรงงานไฟฟ้าพลังงานชีวมวล อยูในระดับปานกลาง ( x = 3.38) ประชาชนเพศหญิง และเพศชาย มีทัศนคติและความรู้ความเข้าใจต่อโรงงานไฟฟ้าพลังงานชีวมวล ที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 และระยะเวลาการอาศัยอยู่ในตำบลทรัพย์อนันต์ ทำให้ประชาชนที่มีทัศนคติและความรู้ความเข้าใจต่อโรงงานไฟฟ้าพลังงานชีวมวล ที่ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ 0.05 (2) รูปแบบการต่อสู้ของชุมชน เป็นการปกป้องและคุ้มครองท้องถิ่นของตน ให้ปลอดภัยจากมลพิษจากโรงงานไฟฟ้ าพลังงานชีวมวล คือ การร่วมประชุมและปรึกษาหารือการเคลื่อนไหวทางสังคมการยื่นข้อเสนอให้หน่วยงานของรัฐแก้ไขปัญ หาการเป็นปฏิปักษ์ต่อโรงงาน และประชาชนในชุมชนร่วมกันจัดองค์กรชุมชน เพื่อให้มีการโต้แย้งในเวทีสาธารณะให้ได้รับความสนใจจากองค์กรภายนอก ปัญหาที่เกิดจากการประกอบการผลิตไฟฟ้าของโรงงาน คือ ทำให้เกิดมลพิษ มีสารเคมีที่เป็นอันตรายจากการผลิต เช่น ฝุ่นละออง นำเสีย มลภาวะทางอากาศ ทำให้เกิดผล กระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนเป็นต้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2014.119en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโรงไฟฟ้า -- ประชาพิจารณ์th_TH
dc.subjectโรงไฟฟ้า -- แง่สิ่งแวดล้อมth_TH
dc.subjectการสำรวจทัศนคติth_TH
dc.titleการต่อสู้ของชุมชนต่อการสร้างโรงงานไฟฟ้าพลังชีวมวลในตำบลทรัพย์อนันต์ อำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพรth_TH
dc.title.alternativeCommunity protests against a biomass power plant project by citizens of Sap Anan Sub-district, Tha Sae District, Chumphon Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2014.119en_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study (1) the attitudes and knowledge of citizens of Sap Anan Sub-district in Tha Sae District, Chumphon Province, about biomass power plants; and (2) the ways in which they opposed a biomass power plant project in their sub-district. The sample population consisted of 364 residents of Sap Anan Sub-district in Tha Sae District, Chumphon Province, and 17 qualified experts, comprising local leaders, community leaders and village savants. Data were collected using a questionnaire and interview form. Quantitative data were statistically analyzed to find percentage, mean, and standard deviation. Qualitative data were analyzed using categorization, content analysis, and descriptive analysis. The results showed that ( 1) the attitudes and knowledge of the samples about biomass power plants were rated as “medium” ( x = 3.38) on average. There was a statistically significant difference (0.05 confidence level) in scores between males and females. The factor of length of time residing in the sub-district was not related to attitude or knowledge about biomass power plants to a statistically significant degree. (2) Community opposition to the local biomass power plant took the form of protecting one’s home from pollution. The citizens joined to hold meetings and consultations, organized social movements, submitted proposals to government agencies to solve the problem, protested against the power plant, and set up a community organization to oppose the power plant through public forums and gain the attention of external organizations. Problems from the power plant’s operations were pollution that affected the citizens’ health, such as dangerous chemicals, dust, air pollution, and water pollutionen_US
Appears in Collections:Pol-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib147569.pdfเอกสารฉบับเต็ม24.93 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons