Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10122
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเพชรผ่อง มยูขโชติ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorจรีลักษณ์ รัตนาพันธ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนรนิติ พรหมพื้น, 2534--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-10-30T12:43:36Z-
dc.date.available2023-10-30T12:43:36Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10122-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบทักษะการเขียนแบบเบื้องต้นด้วยรูปแบบการสอนทักษะปฏิบัติของแฮร์โรว์กับเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 70 (2) เปรียบเทียบทักษะการเขียนแบบเบื้องต้นของนักเรียนที่เรียนด้วยรูปแบบการสอนทักษะปฏิบัติของแฮร์โรว์กับรูปแบบการสอนแบบปกติ และ (3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนการสอนการเขียนแบบเบื้องต้นด้วยวิธีการสอนทักษะปฏิบัติของแฮร์โรว์ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี โดยแบ่งออกเป็นกลุ่มทดลอง จำนวน 35 คน และกลุ่มควบคุม จำนวน 35 คน ได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1) แผนการจัดการเรียนรู้การเขียนแบบเบื้องต้น ด้วยรูปแบบการสอนทักษะปฏิบัติของแฮร์โรว์ (2) แผนการจัดการเรียนรู้การเขียนแบบเบื้องต้น ด้วยรูปแบบการสอนแบบปกติ (3) แบบประเมินทักษะการเขียนแบบเบื้องต้น โดยมีค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคำถามกับรายการประเมินอยู่ระหว่าง 0.60 - 1.00 และ (4) แบบสำรวจความพึงพอใจที่มีต่อการสอนการเขียนแบบเบื้องต้น ด้วยรูปแบบการสอนทักษะปฏิบัติของแอร์โรว์วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ผลการวิเคราะห์คะแนนทักษะการเขียนแบบเบื้องต้นด้วยรูปแบบการสอนทักษะปฏิบัติของแอร์โรว์ พบว่า นักเรียนทุกคนมีคะแนนสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (2) ผลการเปรียบเทียบคะแนนทักษะการเขียนแบบเบื้องต้น ของนักเรียนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectการเขียนแบบวิศวกรรม--การศึกษาและการสอนth_TH
dc.titleการพัฒนาทักษะการเขียนแบบเบื้องต้นด้วยรูปแบบการสอนทักษะปฏิบัติของแฮร์โรว์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรีth_TH
dc.title.alternativeThe basic drafting skill development using Harrow's practical skill instructional model for Mathayom Suksa Vi students of Suan Kularb Wittayalai Nonthaburi Schoolen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to compare skill development of exercise in basic drawing based on Harrow’s and 70 percent of standard criterias in basic drawing, (2) to compare the students’ skill taught in basic drawing teaching method based on Harrow’s with the traditional teaching methods and (3) to study the student satisfaction toward teaching in basic drawing teaching method based on Harrow’s. The sample of this study were grades twelve students of Suankularb Wittayalai Nonthaburi School, divided into the experimental group and the control group by the simple random sampling. The instruments of this study were (1) the lesson plan in basic drawing based on Harrow’s, (2) The lesson plan in basic drawing based on the traditional teaching methods, (3) The skill assessment form in basic drawing and (4) the satisfaction survey form toward the basic drawing teaching method based on Harrow’s teaching. Statistic used were percentage, means, standard deviation and t-test. The finding of this research revealed that the analysis result on (1) the skill scores of grades twelve students taught in basic drawing teaching method based on Harrow’s were 70 percent higher than standard score at the significant level of .01, (2) The means of skill score in basic drawing teaching method based on Harrow's was higher than the traditional teaching methods at the significant level of .01. (3) The overall result of satisfaction survey on basic drawing teaching method based on Harrow's was at the highest levelen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
165018.pdfเอกสารฉบับเต็ม17.66 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons