Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10124
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจรีลักษณ์ รัตนาพันธ์th_TH
dc.contributor.authorพงษ์ศักดิ์ แดงตุ้ย, 2527-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-10-30T12:55:52Z-
dc.date.available2023-10-30T12:55:52Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10124en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.(หลักสูตรและการสอน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบความรู้ ความเข้าใจของนักเรียนก่อนและหลังการเรียนด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้ทักษะปฏิบัติตามแนวคิดของเดวีส์ เรื่องการติดตั้งระบบแสงสว่างในอาคารระดับ 1 (2) ศึกษาทักษะปฏิบัติของนักเรียนที่เรียนด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้ทักษะปฏิบัติตามแนวคิดของเดวีส์ เรื่อง การติดตั้งระบบแสงสว่างในอาคารระดับ 1 และ (3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่เรียนด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้ทักษะปฏิบัติตามแนวคิดของเดวีส์ เรื่อง การติดตั้งระบบแสงสว่างในอาคารระดับ 1 กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนนิคมวิทยา ได้มาจากวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม โดยมีห้องเรียนเป็นหน่วยในการสุ่มและใช้วิธีจับสลากมา 1 ห้องเรียน มีจํานวนนักเรียนทั้งหมด 40 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบทดสอบวัดความรู้ ความเข้าใจเรื่องการติดตั้งระบบแสงสว่างในอาคารระดับ 1 แบบประเมินทักษะปฏิบัติ และแบบประเมินความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ค่าเฉลี่ยของคะแนนทดสอบวัดความรู้ ความเข้าใจของนักเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (2) ผลการประเมินทักษะปฏิบัติโดยรวมอยู่ในระดับดีมาก และ (3) นักเรียนมีความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectทักษะการเรียนth_TH
dc.titleผลการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ทักษะปฏิบัติตามแนวคิดของเดวีส์ เรื่อง การติดตั้งระบบแสงสว่างในอาคารระดับ 1 สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนนิคมวิทยา จังหวัดระยองth_TH
dc.title.alternativeThe results of using Davie's Instructional Model for psychomotor domain in the topic of first level lighting system installation in buildings for Mathayom Suksa II student of NiKhom Wittaya School in Rayong Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to compare knowledge and understanding scores on the topic of First Level Lighting System Installation in Buildings of students before and after learning under Davie’s Instructional Model for Psychomotor Domain; (2) to study psychomotor skill of the students who learned under Davie’s Instructional Model for Psychomotor Domain on the topic of First Level Lighting System Installation in Buildings; and (3) to study the satisfaction of the students who learned under Davie’s Instructional Model for Psychomotor Domain on the topic of First Level Lighting System Installation in Buildings. The research sample consisted of 40 Mathayom Suksa II students in an intact classroom of Nikhom Wittaya School in Rayong province, obtained by cluster random sampling. The employed research instruments were a learning achievement test to assess knowledge and understanding on the topic of First Level Lighting System Installation in Buildings, a psychomotor skill assessment form, and an evaluation form for assessment of satisfaction. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, and t-test. The research findings were as follows: (1) the post-learning mean score of knowledge and understanding of the students was significantly higher than their prelearning counterpart mean score at the .05 level of statistical significance; (2) the psychomotor skill evaluation result showed that the students’ overall psychomotor skill was at the very good level; and (3) the overall satisfaction of the students was at the high level.en_US
dc.contributor.coadvisorเพชรผ่อง มยูขโชติth_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
165537.pdfเอกสารฉบับเต็ม27.06 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons