Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1012
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทัศนา หาญพล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorประยงค์ เนาวบุตร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจุดหมาย อารมณ์สวะ, 2500--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-26T01:47:38Z-
dc.date.available2022-08-26T01:47:38Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1012-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (สารสนเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพี่อศึกษา (1) สภาพการใช้สารสนเทศของครูผู้ทำหน้าที่ นิเทศในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา สำนักงานเขตพี้นที่การศึกษากาฬสินธุ์ (2) ระดับการใช้ สารสนเทศของครูผู้ทำหน้าที่นิเทศ (3) เปรียบเทียบระดับการใช้สารสนเทศของครูผู้ทำหน้าที่นิเทศ จำแนกตามขนาดโรงเรียน และกลุ่มสาระการเรียนรู้ และ (4) ระดับปัญหาการใช้สารสนเทศของครู ผู้ทำหน้าที่นิเทศ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ครูผู้ทำหน้าที่นิเทศในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาใน จังหวัดกาฬสินธุ์ จำนวน 335 คน ซึ่งได้มาโดยใช้วิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมีอที่ใช้วิจัย เป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวน ผลการวิจัย พบว่า (1) ครูผู้ทำหน้าที่นิเทศในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา สำนักงานเขด พี้นที่การศึกษากาฬสินธุ์ มีการใช้สารสนเทศเรียงจากค่าร้อยละสูงสุดในแต่ละด้าน ได้แก่ สารสนเทศด้านผู้เรียน สารสนเทศที่ใช้รวบรวมมาจากงานวิชาการของโรงเรียน มีการสืบค้น สารสนเทศด้วยตนเอง ใช้สารสนเทศที่เป็นภาษาไทยมากกว่าภาษาต่างประเทศ ใช้สารสนเทศที่เป็น สิ่งพิมพ์ ระยะเวลาในการรวบรวมสารสนเทศไม่แน่นอนขึ้นอยู่กับข้อมูลที่จะใช้ด้านความทันสมัย ของสารสนเทศขึ้นอยู่กับความต้องการ มีการจัดเก็บสารสนเทศเป็นแฟ้มเอกสารแยกตามหัวข้อ รวบรวมใช้เฉพาะตนเอง และมีความรู้ความสามารถในการสืบค้นในระดับปานกลาง (2) ครูผู้ทำ หน้าที่นิเทศในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษามีการใช้สารสนเทศในภาพรวมอยู่ในระดับมากโดยด้านที่ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ได้แก่ ด้านหลักสูตรและบริหารหลักสูตร ด้านผู้เรียน และด้านครูผู้สอน ส่วนด้านชุมชน มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง (3) ครูผู้ทำหน้าที่นิเทศในโรงเรียนระดับ มัธยมศึกษา เพี่อจำแนกตามขนาดของโรงเรียนและกลุ่มสาระการเรียนรู้ มีการใช้สารสนเทศทุก ด้านไม่แตกต่างกัน (4) ระดับปัญหาการใช้สารสนเทศของครูผู้ทำหน้าที่นิเทศ ในภาพรวม มี ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลางth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการนิเทศการศึกษา--ไทย--กาฬสินธุ์th_TH
dc.titleการใช้สารสนเทศของครูผู้ทำหน้าที่นิเทศในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากาฬสินธุ์th_TH
dc.title.alternativeInformation used by peer supervising teachers in the secondary Schools, Kalasin Educational Service Area Officeth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe Objective of this research were to study (1) Information used by peer supervising teachers who supervise in the secondary schools at Educational Service Area Office, Kalasin province. (2) the level of information used for supervising. (3) compare the level of information used by supervising teachers classified by the school size and the learning group. (4) the level of the problems on information used for supervising. This samples were 335 the supervising teachers who supervise in a secondary school at the Educational Service Area Office, Kalasin Province. Multi-Stage random for selected a samples, had been used. The research tool had been used for data collecting was questionnarires.Statistics used for the analysis were percentage, mean, standard deviation and sample variance analysis. The result found:( I) Peer supervising teachers in the Secondary Schools, Kalasin Educational Service Area Office used information arranged from the maximum percentage of each item as follows: Information for learners, collected information from the academic work of schools, search information by yourself, used the information in Thai language more than foreign language, used information in printed form. Time in collecting information was depend on the information used. About modernization of information content was depend on peer supervising teacher’s needs. They keep the information with document file sort by topic. They used information only themselves and they have a knowledgeable about information searching in the moderate level. (2) In the overview peer supervising teachers used information for supervision in the high level, such as the information with curriculum course management and the information with the teacher. Whereas the information with community that have an average in the moderate level. (3) Compare with information used by school size and the learning group, found that: peer supervising teachers used all the information are not different. (4) In the overall about the problem of information used, the peer supervising teachers have a problem in the moderate levelen_US
Appears in Collections:Arts-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.18 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons