Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10133
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทิพย์เกสร บุญอำไพth_TH
dc.contributor.authorสุทัศน์ ผาสุขth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-10-31T02:25:42Z-
dc.date.available2023-10-31T02:25:42Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10133en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ (1) พัฒนาชุดการเรียนผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เรื่อง ภาคควบคุมการเบี่ยงเบน วิชาเครื่องรับโทรทัศน์ สำหรับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด 80/80 (2) ศึกษาความก้าวหน้าทางการเรียนของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ที่เรียนจากชุดการเรียนผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เรื่อง ภาคควบคุม การเบี่ยงเบน วิชาเครื่องรับโทรทัศน์ และ (3) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อคุณภาพของ ชุดการเรียนผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เรื่อง ภาคควบคุมการเบี่ยงเบน วิชาเครื่องรับโทรทัศน์ สำหรับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพในวิทยาลัยเทคนิค สังกัดสำนักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ แผนก วิชาช่างอิเล็กทรอนิกส์ ชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยเทคนิคภูเก็ต สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษา จำนวน 42 คนโดยเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ (1) ชุดการ เรียนผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์เรื่อง ภาคควบคุมการเบี่ยงเบน วิชาเครื่องรับโทรทัศน์ สำหรับ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพในวิทยาลัยเทคนิคสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษา จำนวน 3 หน่วย ได้แก่ หน่วยที่ 8 หน่วยที่ 9 และ หน่วยที่ 10 (2) แบบทดสอบก่อน เรียนและหลังเรียน และ (3) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูลคือ ค่าประสิทธิภาพ E,/E, ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า (1) ชุดการเรียนผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั้ง 3 หน่วยที่พัฒนาขึ้น มีค่าประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 ที่กำหนด คือ 79.05/78.05, 80.38/80.05 และ 80.72/80.38 ตามลำดับ (2) นักเรียนที่เรียนกับชุดการเรียนผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์มีความก้าวหน้าทางการ เรียนเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) นักเรียนมีความคิดเห็นต่อคุณภาพของ ชุดการเรียนผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในระดับเหมาะสมมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.129en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectวิทยาลัยเทคนิค--การศึกษาและการสอนth_TH
dc.subjectคอมพิวเตอร์ช่วยการสอนth_TH
dc.subjectการเรียนการสอนผ่านเว็บth_TH
dc.titleชุดการเรียนผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เรื่องภาคควบคุมการเบี่ยงเบน วิชาเครื่องรับโทรทัศน์ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพในวิทยาลัยเทคนิค สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาth_TH
dc.title.alternativeComputer-based learning packages via network on the topic of deflection section in the television course for vocational certificate students in technical colleges under the Office of Vocational Education Commissionen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.129-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to (1) to develop the computer-based learning packages via network on topic of Deflection Section in the Television Course for Vocational Certificate students in technical colleges under the Office of Vocational Education Commission to meet the 80/80 efficiency criterion; (2) study the learning progress of students who learned from the computer-based learning packages via network; and (3) study the opinions of students on the quality of the computer-based learning packages via network on the topic of Deflection Section in the Television Course. The sample employed for this research consisted of 42 purposively selected second year vocational certificate students of Phuket Technical College in Phuket Province. The research instruments were (1) three computer-based learning packages via network on the topic of Deflection Section in the Television Course, namely, unit 8: Vertical Deflection Circuit, unit 9: Horizontal Deflection Circuit, and unit 10: Deflection Yoke Coil Circuit; (2) two paralleled forms of an achievement test for pre-testing and post-testing on learning achievement; and (3) a questionnaire to assess students' opinions toward the quality of the learning packages. Statistical procedures for data analysis were the E1/E2 efficiency index, mean, standard deviation and t-test. The findings of study indicated that (1) the tree developed units of computer-based learning packages via network had efficiency indices of 79.05/78.05, 80.38/80.05 and 80.72/80.38 respectively, meeting the set 80/80 efficiency criterion; (2) the students' learning achievement was significant increased at the .05 level; and (3) the students' opinions toward the quality of computer-based learning packages via network were at the highly appropriate level.en_US
dc.contributor.coadvisorวิสุทธิ์ สุนทรกนกพงศ์th_TH
dc.contributor.coadvisorอภิรดี ประดิษฐสุวรรณth_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม33.87 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons