Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10136
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพาณี สีตกะลินth_TH
dc.contributor.authorวันชัย พันศรี, 2518-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-10-31T02:37:05Z-
dc.date.available2023-10-31T02:37:05Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10136-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.(บริหารโรงพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลองรูปแบบหนึ่งกลุ่มวัดผลก่อนและหลังการทดลอง ศึกษาระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน ถึง 31 กรกฎาคม 2562 วัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษารูปแบบการบริหารจัดการในผู้ป่วยไตเรื้อรังที่มารับยาโรงพยาบาลชุมชน (2) พัฒนารูปแบบการบริหารจัดการยาในผู้ป่วยไตเรื้อรังที่มารับยาโรงพยาบาลชุมชน และ (3) เปรียบเทียบผลของการบริหารจัดการยาของผู้ป่วยก่อนและหลังการได้รับโปรแกรมการพัฒนารูปแบบบริหารจัดการยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง ประชากรที่ศึกษาในครั้งนี้ คือ ผู้ป่วยไตเรื้อรังที่มารับบริการที่คลินิกไตเรื้อรัง จำนวนทั้งหมด 468 คนสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง จำนวน 100 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ (1) แบบสอบถามด้านความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติในการใช้ยาตามหลัก 5R (2) แบบสอบถามความร่วมมือในการใช้ยา มีค่าความตรงและค่าความเที่ยงที่ 0.82 และ 0.75 และ (3) โปรแกรมการพัฒนารูปแบบบริหารจัดการยาในผู้ป่วยไตเรื้อรังที่มารับยาโรงพยาบาลชุมชน สถิติที่ใช้ คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบค่าที ผลการศึกษาพบว่า (1) ก่อนการพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการยาผู้ป่วย ผู้ป่วยมีความรู้ของยาถูกขนาดอยู่ในระดับน้อย มีทัศนคติเกี่ยวกับยาที่ใช้อยู่ในรักษาระดับปานกลางและมีการปฏิบัติเรื่องรับประทานยาถูกเวลาในระดับปานกลาง และมีระดับการให้ความร่วมมือในการรักษาด้วยยาในระดับปานกลาง (2) เมื่อมีการการพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการยาผู้ป่วย พบว่า ผู้ป่วยมีความรู้ของยาถูกขนาดเพิ่มขึ้นอยู่ในระดับปานกลาง มีทัศนคติยาที่ใช้รักษาอยู่ในระดับสูง และมีการปฏิบัติเรื่องรับประทานยาถูกเวลาในระดับสูงและมีระดับการให้ความร่วมมือในการรักษาด้วยยาในระดับสูง และ (3) เมื่อเปรียบเทียบผลของการบริหารจัดการยาของผู้ป่วยก่อนและหลังการได้รับโปรแกรมการพัฒนารูปแบบบริหารจัดการยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง ในภาพรวมผู้ป่วยมีความรู้ ทัศนคติ การปฏิบัติและความร่วมมือในการใช้ยาเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารโรงพยาบาล --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectไต--โรค--การใช้ยาth_TH
dc.titleการพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการยาของผู้ป่วยไตเรื้อรังในโรงพยาบาลชุมชนแห่งหนึ่ง จังหวัดอุดรธานีth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of drugs management model among patient chronic kidney disease at one community hospital of Udon Thani Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis one group pretest-posttest quasi-experimental research was conducted from 1 June through 31 July 2019. The purposes of the study were to: (1) design a medication management model; (2) further develop the medication management model; and (3) compare the results of medication management before and after implementing the model, all among patients with chronic kidney disease at a community hospital in Udon Thani province. The study was conducted in a sample of 100 patients, purposively selected from all 468 patients with chronic kidney disease who attended the chronic kidney disease clinic at the community hospital. Study instruments included (1) a questionnaire on knowledge, attitudes and practice related to the principles of “Five Rights” in medication use, (2) a questionnaire on medication adherence with the reliability and validity values 0.82 and 0.75 respectively, and (3) a program on medication management model for patients with chronic kidney disease at community hospital. Data were collected and then analyzed to determine percentages, means, and standard deviations, and perform paired t-test. The results revealed that: (1) before implementing the medication management model, the respondents had a low knowledge level of medication dosages, a moderate level of medication attitudes, a moderate level of practice regarding medication time, and a moderate level of medication adherence; (2) after implementing the model, clients’ knowledge of medication dosages rose to a moderate level, medication attitudes to a high level, medication time to a high level, and medication adherence to a high level; and (3) after implementing the model, clients’ medication knowledge, attitudes and practice levels were significantly higher than before interventionen_US
dc.contributor.coadvisorสมจิตต์ สุพรรณทัสน์th_TH
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
165475.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.65 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons