Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10138
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorราณี อิสิชัยกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเฉลิมเกียรติ เฟื่องแก้ว, 2512--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-10-31T02:47:02Z-
dc.date.available2023-10-31T02:47:02Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10138-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาภาพลักษณ์ตราสินค้าสายการบินไทยในช่วงฟื้นฟูองค์การตามความคิดเห็นของผู้โดยสารชาวไทย (2) ศึกษาคุณค่าตราสินค้าสายการบินไทยในช่วงฟื้นฟูองค์การตามความคิดเห็นของผู้โดยสารชาวไทย (3) เปรียบเทียบคุณค่าตราสินค้าสายการบินไทยในช่วงฟื้นฟูองค์การตามความคิดเห็นของผู้โดยสารชาวไทยจำแนกตามลักษณะประชากรศาสตร์ และ (4) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาพลักษณ์ตราสินค้ากับคุณค่าตราสินค้าสายการบินไทยในช่วงฟื้นฟูองค์การตามความคิดเห็นของผู้โดยสารชาวไทย การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากร คือ ผู้โดยสารชาวไทยอายุ 18 ปีขึ้นไปที่เคยใช้บริการเดินทางกับการบินไทยในเส้นทางของการบินไทยภายในระยะเวลา 5 ปีที่ผ่านมา โดยไม่ทราบจำนวน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้คือผู้โดยสารชาวไทยอายุ 18 ปีขึ้นไปที่เคยใช้บริการเดินทางกับการบินไทยในเส้นทางของสายการบินไทยภายในระยะเวลา 5 ปีที่ผ่านมา จำนวน 400 คน ด้วยการสุ่มตัวอย่างแบบสะดวก ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติอนุมาน ได้แก่ การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ ความแปรปรวนทางเดียว และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการศึกษา พบว่า (1) ภาพลักษณ์ตราสินค้าสายการบินไทยในช่วงฟื้นฟูองค์การอยู่ในระดับมาก (2) คุณค่าตราสินค้าสายการบินไทยในช่วงฟื้นฟูองค์การอยู่ในระดับมาก (3) ผู้โดยสารชาวไทยที่มีอายุ ระดับการศึกษา และรายได้เฉลี่ยต่อเดือนแตกต่างกันมีความเห็นคุณค่าตราสินค้าสายการบินไทยในช่วงฟื้นฟูองค์การแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ (4) ภาพลักษณ์ตราสินค้า มีความสัมพันธ์กันกับคุณค่าตราสินค้าสายการบินไทยในช่วงฟื้นฟูองค์การตามความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสายการบิน--ไทย--ความพอใจของผู้ใช้บริการth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleภาพลักษณ์ตราสินค้าที่สัมพันธ์กับคุณค่าตราสินค้าสายการบินไทยตามความคิดเห็นของผู้โดยสารชาวไทยในช่วงฟื้นฟูองค์การth_TH
dc.title.alternativeBrand image relating brand equity of Thai Airways International based on Thai passengers’ opinions during rehabilitation perioden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis independent study aims to (1) study brand image of the Thai Airways International based on opinions of Thai passengers during rehabilitation period; (2) study brand equity of the Thai Airways International based on the opinions of Thai passengers during rehabilitation period; (3) compare brand equity of Thai Airways International during rehabilitation period based on the opinions of Thai passengers, classified by demographic characteristics; and (4) study the relationship between brand image and brand equity of Thai Airways International based on the opinions of Thai passengers during the rehabilitation period. This study was a quantitative research. The population was un-known Thai passengers aged 18 years and over who have traveled on Thai Airways International routes within the past 5 years. The sample was 400 units using convenience sampling method. An instrument used for data collecting was a questionnaire. The derived data were statistically analyzed by descriptive statistical analysis including percentages, mean, and standard deviation and for inferential statistical analysis of t-test, F-test and Pearson's correlation coefficient. The findings showed that (1) the brand image of Thai Airways International during rehabilitation period was at a high level. (2) The brand equity of Thai Airways International during rehabilitation period was at a high level. (3) Thai passengers with different age, education level, and average monthly income had their opinions toward brand equity of Thai Airways International during the rehabilitation period differently at a statistical significance level of 0.05. (4) Brand image was related to brand equity of Thai Airways International based on respondents' opinions during the rehabilitation period at a moderate level at a statistical significance level of 0.05en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
168770.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.8 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons