Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1013
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ทัศนา หาญพล | th_TH |
dc.contributor.author | เบญจพร สมชื่น, 2515- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-26T01:58:05Z | - |
dc.date.available | 2022-08-26T01:58:05Z | - |
dc.date.issued | 2554 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1013 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (สารสนเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2554 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการใช้สารสนเทศของนักอุตุนิยมวิทยาด้านการบริหารจัดการ ด้านพยากรณ์อากาศ ด้านพัฒนาอุตุนิยมวิทยา ด้านอุตุนิยมวิทยาการบิน ด้านตรวจและเฝ้าระวังสภาวะอากาศและด้านเฝ้าระวังแผ่นดินไหว (2) เปรียบเทียบการใช้สารสนเทศด้านการบริหารจัดการจำแนกตามภารกิจความรับผิดชอบและประสบการณ์ และ (3) ศึกษาปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นในการใช้สารสนเทศ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ นักอุตุนิยมวิทยาของกรมอุตุนิยมวิทยา จำนวน 122 คน และผู้อำนวยการสำนัก 5 สำนัก จำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ซึ่งใช้เก็บรวบรวมข้อมูลการใช้สารสนเทศเฉพาะผู้บริหาร สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ส่วนแบบสัมภาษณ์ใช้การวิเคราะห์เนี้อหา ผลการวิจัยพบว่า (1) นักอุตุนิยมวิทยามีการใช้สารสนเทศด้านการบริหารจัดการโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่ามีการใช้สารสนเทศโดยรวมอยู่ในระดับมาก ได้แก่ ด้านอุตุนิยมวิทยาการบิน (สารสนเทศด้านการรายงานแนวโน้มลักษณะอากาศเพื่อการขนส่งทางอากาศ) ด้านพยากรณ์ อากาศ (สารสนเทศด้านวิเคราะห์และพยากรณ์อากาศ) ด้านเฝ้าระวังแผ่นดินไหว (สารสนเทศต้านเทคนิคการตรวจวัดแผ่นดินไหวสารสนเทศด้านการคำนวณหาตำแหน่งการเกิดแผ่นดินไหวสารสนเทศด้านการวิเคราะห์ศูนย์กลางขนาดความแรงแผ่นดินไหว) ด้านตรวจและเฝ้าระวังสภาวะอากาศ (สารสนเทศด้านการค้นควัาและวิจัยในการพัฒนาจัดทำมาตรฐานการเฝ้าระวังและเตือนสภาวะอากาศ สารสนเทศด้านการตรวจวัด รวบรวม จัดทำรายงานข้อมูลรังสีโอโซนและมลภาวะ) (2) นักอุตุนิยมวิทยาที่มีภารกิจความรับผิดชอบและประสบการณ์ในการทำงานต่างกันมีการใช้สารสนเทศด้านบริหารจัดการไม่แตกต่างกันและ (3) ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นในการใช้สารสนเทศพบว่าช่องทางการสื่อสาร(อินเตอร์เน็ต) มีความเร็วต่ำและขาดการพัฒนาบุคลากรในการนำ สารสนเทศมาใช้ จากการสัมภาษณ์การใช้สารสนเทศด้านบริหารจัดการของผู้บริหาร ผลการวิจัยพบว่าสารสนเทศที่นำมาใช้จะนำมาจากนโยบายของรัฐที่มอบหมายให้ดำเนินการ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | กรมอุตุนิยมวิทยา--ข้อมูล | th_TH |
dc.title | การใช้สารสนเทศของนักอุตุนิยมวิทยา กรมอุตุนิยมวิทยากระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร | th_TH |
dc.title.alternative | Information use by meteorologists at the Thai Meteorological Department, Ministry of Information and Communication Technology | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศิลปศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study aimed to (1) examine information use by meteorologists in management, weather forecasting, meteorological development, aeronautical meteorology, the meteorological monitoring and observing and seismological monitoring; (2) compare the use of information in management which is classified by work responsibilities and experiences; and (3) investigate the problems and obstacles in using information. The number of population were 122 meteorologists of the Thai Meteorological Department and 5 directors from 5 institutions. Questionnaires and interview forms were the main tools used for quantitative data collecting, especially the interview forms for the administrators. Statistics used for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation and One-way Analysis of Variance (ANOVA). The interview forms were evaluated by using content analysis. The results findings showed that (1) overall, the meteorologists used information in management at a moderate level. With consideration of each aspect, it was found that the overall use of information was at the high level such as aeronautical meteorology (information for aviation weather reporting and forecasting); weather forecasting (information for weather analysis and forecasting); seismological monitoring (information for seismological observation techniques, information for seismological epicenter computation, information for seismological center, magnitude and intensity analysis); meteorological monitoring and observing (information for research and development on meteorological watching and monitoring standardization, information for radiation, ozone and air pollution reporting, gathering and observing); (2) the use of information by meteorologists in different work responsibilities and work experiences expressed non-significantly different use in information management; and (3) the problems and obstacles in using information illustrated that the communication speed (internet) was too slow and there was a lack of personnel development in using information. For the interview of the administrators on information use for management, the results showed that the use of information would have been provided and commanded by the government policy | en_US |
dc.contributor.coadvisor | อมรรัตน์ ภิญโญอนันตพงษ์ | th_TH |
dc.contributor.coadvisor | สมชาย ใบม่วง | th_TH |
Appears in Collections: | Arts-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext (1).pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 67.83 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License