Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10143
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมประสงค์ วิทยเกียรติ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorนฤมล ตันธสุรเศรษฐ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorคนองยุทธ์ กาญจนกูล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorประนอม พานิช-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-10-31T03:03:59Z-
dc.date.available2023-10-31T03:03:59Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10143-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การศึกษานอกระบบ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการมีส่วนร่วมของชุมชนเขตรับผิดชอบของ โรงพยาบาลสมเด็จพระญาณสังวร ในการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ที่เป็นอยู่ในปัจจุบันและที่ควรจะเป็น (2) เปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของชุมชนในการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุระหว่าง สภาพที่เป็นอยู่ในปัจจุบันและที่ควรจะเป็น (3) เปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของชุมชน ในการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุระหว่าง ผู้ให้บริการ แกนนำชุมชน และผู้สูงอายุ และ (4) เสนอแนวทาง ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ประกอบด้วย ผู้ให้บริการ 13 คน แกนนำชุมชน 70 คน และผู้สูงอายุ 49 คน รวม 132 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่า การสัมภาษณ์ และการสนทนา กลุ่ม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว การทดสอบความแตกต่างรายคู่ด้วยวิธีการเชพเฟ และการวิเคราะห์ เนื้อหา ญาณสังวร สภาพที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน โดยภาพรวมและแต่ละกลุ่มอยู่ในระดับปานกลาง สภาพที่ควรจะ เป็นโดยภาพรวมและแต่ละกลุ่มอยู่ในระดับมาก (2) การวิเคราะห์เปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับการมี ส่วนร่วมของชุมชนในการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ระหว่างสภาพที่เป็นอยู่ในปัจจุบันและที่ควรจะเป็น โดยภาพรวมและตามขั้นตอนการมีส่วนร่วมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (3) การ วิเคราะห์เปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของชุมชนในการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ระหว่างผู้ให้บริการ แกนนำชุมชนและผู้สูงอายุ โดยภาพรวมและตามขั้นตอนการมีส่วนร่วมแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (4) แนวทางส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการส่งเสริม สุขภาพผู้สูงอายุนั้นควรมีการสำรวจ ค้นหาปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุและสะท้อนข้อมูลให้ทุกคนในชุมชน เห็นคุณค่า ความสำคัญของผู้สูงอายุ ทุกคนควรมีส่วนร่วมในการวางแผนและจัดกิจกรรมที่หลากหลาย ตามความต้องการของผู้สูงอายุ มีการสร้างความเข้าใจถึงประโยชน์ที่จะได้รับ และควรจะมีการ ประเมินผลร่วมกันเป็นระยะอย่างต่อเนื่อง ผลการวิจัย พบว่า (1) การมีส่วนร่วมของชุมชนเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลสมเด็จพระth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.181-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการศึกษานอกระบบ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโรงพยาบาลสมเด็จพระญาณสังวร--การบริการth_TH
dc.subjectการส่งเสริมสุขภาพth_TH
dc.subjectผู้สูงอายุ--ไทย--เชียงรายth_TH
dc.subjectการมีส่วนร่วมของประชาชนth_TH
dc.titleการมีส่วนร่วมของชุมชนในการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ : กรณีศึกษาชุมชนเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลสมเด็จพระญาณสังวร อำเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงรายth_TH
dc.title.alternativeCommunity participation in health promotion for elderly people : a case study of communities under the responsibitity of Somdej Phra Yanasungworn Hospital in Wieng Chai District, Chiang Rai Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.181-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การศึกษานอกระบบ)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to (1) study the actual and expected participation in health promotion for elderly people of communities under the responsibility of Somdej Phra Yanasungworn Hospital; (2) compare the actual and expected community participation in health promotion for elderly people based on the opinions of community people; and (3) compare opinions of service providers, community leaders, and elderly people regarding community participation in health promotion for elderly people; and (4) propose guidelines for promotion of community participation in health promotion for elderly people. The employed research sample totaling 132 persons consisted of 13 service providers, 70 community leaders, and 49 elderly people. The employed data collecting instruments/methods comprised a rating scale questionnaire, interviews, and focus group discussions. Data were analyzed with the use of the percentage, mean, standard deviation, t-test, one-way analysis of variance, Scheffe method for pair-wise comparison, and content analysis. Research findings were as follows: (1) the actual participation in health promotion for elderly people of all communities and each community group under the responsibility of Somdej Phra Yanasungworn Hospital was at the moderate level; while the expected participation of all communities and each community group was at the high level; (2) significant differences were found at the .01 level between the actual level and the expected level of community participation in health promotion for elderly people for both the overall participation and in each participation step as perceived by respondents; (3) opinions of service providers, community leaders, and elderly people were significantly different at the .01 level regarding community participation in health promotion for both the overall participation and in each participation step; and (4) as for guidelines for promotion of community participation in health promotion for elderly people, there should be a survey of health problems of elderly people and disseminate the information on findings to all community members so that they be made aware of the values and importance of elderly people; every community member should participate in planning and organizing various activities to meet the needs of elderly people; understanding on benefits to obtain should be enhanced; and there should be periodic and continuous evaluation of the program to be participated by all people concerneden_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม7.65 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons