Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10158
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วราภรณ์ วนาพิทักษ์ | th_TH |
dc.contributor.author | กัลยารัตน์ เทพประสิทธิ์, 2535- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-10-31T04:10:22Z | - |
dc.date.available | 2023-10-31T04:10:22Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10158 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (น.ม. (กฎหมายธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2563 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองลูกจ้างจากการถูกกลั่นแกล้งรังแกในที่ทำงาน (2) เพื่อศึกษากฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองลูกจ้างจากการถูกกลั่นแกล้งรังแกในที่ทำงานเปรียบเทียบกับองค์การแรงงานระหว่างประเทศ กฎหมายของประเทศออสเตรเลีย ประเทศสหราชอาณาจักรและประเทศไทย (3) เพื่อวิเคราะห์กฎหมายไทยที่เกี่ยวกับการถูกกลั่นแกล้งรังแกเปรียบเทียบกับอนุสัญญาและข้อแนะขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ กฎหมายของประเทศออสเตรเถียและประเทศสหราชอาณาจักรและ (4) เพื่อหาแนวทางในการปรับปรุงแก้ไขกฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองลูกจ้างจากการถูกกลั่นแกล้งรังแกในที่ทำงานของประเทศไทย การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีวิจัยเอกสาร ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ กฎหมายของประเทศไทย ประเทศออสเตรเลียและประเทศสหราชอาณาจักร กฎหมายแรงงานระหว่างประเทศ โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลจากตัวบทกฎหมาย หนังสือ บทความ เอกสารทางวิชาการ งานวิจัย วิทยานิพนธ์ และข้อมูลจากสื่อเล็กทรอนิกส์อินเทอร์เน็ต ในส่วนของการวิเคราะห์ข้อมูลงานวิจัย ผู้วิจัยทำการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพจากเนื้อหาที่ได้จากการทบทวนวรรณกรรมและการศึกษากฎหมายที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำมาเป็นแนวทางในการแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองถูกจ้างจากการถูกกลั่นแกล้งรังแกในที่ทำงาน ผลการศึกษาพบว่า (1) อนุสัญญาฉบับที่ 190 และข้อแนะฉบับที่ 206 ว่าด้วยความรุนแรงและการล่วงละเมิดให้ความคุ้มครองลูกจ้างจากการคุกคามและการกลั่นแกล้งรังแกในที่ทำงานด้วย (2) กฎหมายของประเทศออสเตรเลีย ประเทศสหราชอาณาจักร แม้จะไม่มีกฎหมายเฉพาะแต่ในส่วนของกฎหมายแรงงานประเทศดังกล่าวมีกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการกลั่นแกล้งรังแกในที่ทำงาน รวมถึงมีคณะกรรมการที่มีอำนาจออกคำสั่งโดยเฉพาะ (3) จากการวิเคราะห์กฎหมายไทยตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.2541 มาตรา 16 ยังไม่ครอบคลุมเพียงพอ อีกทั้งกฎหมายที่เกี่ยวข้องก็ยังไม่ครอบคลุมกรณีดังกล่าวเมื่อเทียบกับกฎหมายขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ กฎหมายของประเทศออสเตรเลียและประเทศสหราชอาณาจักรที่มีการกล่าวถึงนิยามหน่วยงานที่รับผิดชอบ บทลงโทษรวมถึงมาตรการเยียวยาความเสียหาย (4) ให้มีแนวทางการแก้ไขพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.2541 มาตรา 16 เพื่อให้ครอบคลุมถึงความรุนแรงและการถ่วงละเมิดหรือคุกคาม รวมถึงการกลั่นแกล้งรังแกในที่ทำงานให้สอดคล้องกับองค์การแรงงานระหว่างประเทศ กฎหมายประเทศออสเตรเลียและประเทศสหราชอาณาจักรที่ลูกจ้างมีสิทธิจะได้รับความคุ้มครอง โดยกำหนดนิยามของการกลั่นแกล้งรังแกในที่ทำงาน จัดให้มีหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรง กำหนดฐานความผิดและบทลงโทษรวมถึงมาตรการเยียวยาความเสียหายให้ชัดเจนและครอบคลุม | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2020.15 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายธุรกิจ --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การกลั่นแกล้งในที่ทำงาน--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ | th_TH |
dc.subject | การคุกคาม--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ | th_TH |
dc.title | มาตรการทางกฎหมายในการคุ้มครองลูกจ้างจากการถูกกลั่นแกล้งรังแกในที่ทำงาน | th_TH |
dc.title.alternative | Legal measures to protect employees from workplace bullying | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2020.15 | - |
dc.identifier.url | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2020.15 | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study were (1) to study the concepts and theories relating to the protection of employees from bullying in the workplace. (2) to study the laws relating to the protection of employees from bullying in the workplace by comparing with the International Labor Organization Convention and the laws of Australia, United Kingdom and Thailand. (3) to analyze Thai laws in comparison to legal measures relating to the conventions and recommendations of the International Labor Organization, the laws of Australia, United Kingdom, and (4) to propose guidelines for amend the law relating to the protection of employees from bullying in the workplace in Thailand. This research is qualitative research conducted by documentary method. The data is collected from the laws of Thailand, Australia, United Kingdom and International Labor. The data is collected from relevant laws, books, articles, academic documents, research reports, thesis and electronic information. In this research, the researcher uses the analytic and synthetic method for the qualitative data. The analysis was based on qualitative data from literature reviews and current laws in order to propose recommendation for the amendment of lawrelating to the protection of employees from bullying in the workplace. The results show that: (1) the Convention No. 190 and Recommendation No. 206 on Violence and Harassment protects employees from harassment and bullying in the workplace. although there are no specific laws concerning workplace bullying in the Australia, United Kingdom, the labor laws in these countries have relevant statutes relating to workplace bullying and provide the power for a committee to issue specific orders. from the analysis of Thai laws under the Labor Protection Act B.E. , Section has does not cover the issues of workplace bullying, and the relevant laws does not cover such cases when compared to the International Labor Organization Convention and Recommendations, the laws of Australia, United Kingdom provide for the legal term of bullying,the responsible agency, the penalties and the remedy measures. to propose the guideline for amending the Labor Protection Act B.E. 2541, This research recommends that Section 16 should cover any violence and harassment, includes bullying in the workplace, in accordance with to the International Labor Organization Convention and Recommendations, the laws of Australia, United Kingdom in order to protect the employees rights. Also, the law should have a legal term of bullying in the workplace, set up a specific responsible agency, determine the base element of the offense and penalties, including the remedy measures. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | สราวุธ ปิติยาศักดิ์ | th_TH |
Appears in Collections: | Law-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
166915.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 16.47 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License