Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10160
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วรรณวิภา เมืองถ้ำ | th_TH |
dc.contributor.author | ปิ่นปินัทธ์ ทัพภมาน, 2516- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-10-31T04:23:52Z | - |
dc.date.available | 2023-10-31T04:23:52Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10160 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาแนวคิดทฤษฎีและหลักการในการให้อำนาจฟ้องคดีอาญาของราษฎร (2) ศึกษาความเป็นมาของการฟ้องคดีโดยราษฎรเป็นโจทก์ ตลอดจนปัญหาและผลกระทบ อันเกิดจากการใช้อำนาจฟ้องคดี (3) เพื่อวิเคราะห์เปรียบเทียบกระบวนการยุติธรรมทางอาญาเกี่ยวกับการฟ้องคดีของราษฎรตามกฎหมายของไทยและกฎหมายต่างประเทศ (4) เพื่อศึกษาถึงแนวทางในการปรับปรุงแก้ไขประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาเกี่ยวกับการเปิดโอกาสให้ราษฎรฟ้องคดีโดยไม่มีข้อจำกัด การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพซึ่งได้ทำการศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เช่น บทความวารสาร วิทยานิพนธ์ ตำรากฎหมาย คำพิพากษาศาลฎีกา และเว็บไซต์ที่เกี่ยวกับการศึกษากฎหมาย ผลการศึกษาพบว่า (1) การดำเนินคดีอาญาสมัยก่อนจะเป็นในลักษณะ “ตาต่อตา ฟันต่อฟัน” เมื่อยุคสมัยเปลี่ยนไปเกิดมีแนวคิดว่าการกระทำความผิดบางกรณีไม่ได้เกิดความเสียหายแค่ผู้เสียหายเท่านั้นแต่ยังกระทบต่อความสงบเรียบร้อยของสังคมด้วยจึงเกิดหลักการดำเนินคดีอาญาโดยประชาชน และหลักการดำเนินคดีอาญาโดยรัฐ (2) การดำเนินคดีอาญาต้องพิจารณาตามทฤษฎีเงื่อนไขให้อำนาจดำเนินคดีแบบพิธีก่อนแล้วจึงพิจารณาเงื่อนไขให้อำนาจดำเนินคดีโดยเนื้อหาเป็นลำดับถัดไปหากขาดเงื่อนไขใดไปการฟ้องดำเนินคดีนั้นจะสิ้นสุดลงไปทันที และทฤษฎีผลผูกพันของคำพิพากษา คดีใดเมื่อมีคำพิพากษาถึงที่สุดแล้วถือว่าคดีนั้นเป็นอันยุติลง คู่ความต้องยอมรับและเคารพในความศักดิ์สิทธิ์ของคำพิพากษาของศาล จะรื้อร้องฟ้องใหม่ในเรื่องเดียวกันอีกไม่ได้ แม้แต่ศาลเองจะหยิบยกมาพิจารณาใหม่ไม่ได้เช่นกัน (3) ในต่างประเทศการดำเนินคดีอาญาของราษฎรจะอยู่ในความควบคุมของรัฐ แต่ละประเทศจะไม่ใช้หลักการดำเนินคดีอาญาอย่างใดอย่างหนึ่งเพียงอย่างเดียวแต่ รวมถึงประเทศไทยด้วย (4) ประเทศแอฟริกาใต้และประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีใช้หลักดำเนินคดีโดยรัฐแต่ก็ให้สิทธิผู้เสียหายดำเนินคดีได้แต่ไม่เปิดกว้างและจะมีเงื่อนไขต่าง ๆ มาควบคุม ส่วนประเทศอังกฤษปัจจุบันก็มีหน่วยงานมาควบคุมดูแลการดำเนินคดีอาญาของราษฎร แต่ประเทศไทยให้อิสระราษฎรดำเนินคดีโดยไม่เกี่ยวข้องกับการดำเนินคดีอาญาของรัฐ (5) ควรมีการแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาในการให้สิทธิฟ้องคดีอาญาโดยราษฎรเพื่อความสงบเรียบร้อยของสังคม | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | การฟ้องคดีอาญา | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม | th_TH |
dc.title | การฟ้องคดีอาญาโดยราษฎรเป็นโจทก์ | th_TH |
dc.title.alternative | Criminal prosecution with citizen as plaintiff | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This independent research is conducted with the objectives to (1) study the concepts, theories, and principles of the authorization of the civilians to prosecute criminal cases; (2) study the background of civilians prosecuting the case as a plaintiff as well as problems and impacts arising from the use of the right to prosecute the case; (3) to analyze and compare the criminal justice procedure in relation to the civilian’s prosecution under the Thai and foreign laws; (4) study the guidelines for the adjustment and amendment of the Criminal Procedure Code regarding the opportunity for civilians to prosecute without limitation. This independent study was qualitative research which was conducted by researching information from various sources such as journal articles, thesis, law tables, Supreme Court judgments, and websites related to legal education. The results of the study shows that 1) Criminal prosecution in the past was “an eye for an eye, a tooth for a tooth”, but as the times change, there is a notion that some crimes do not only damage the victims, but also affects the public order and created the principle of criminal prosecution by the civilians and principles of criminal prosecution by the state; 2) Criminal prosecution must first consider the theory of conditions of formality in the power of prosecution and then consider the theory of conditions for the content in the power of the prosecution. If any of the conditions to prosecute are lacking, the prosecution shall be terminated immediately. Moreover, the theory of the binding of judgment, when the judgment of any case is final, such case shall cease. Both parties must accept and respect the sanctity of the court judgments. Neither party may take further proceedings between the same parties and on the same grounds. Not even the judge can bring any grounds for reconsideration; 3) In foreign countries, the criminal prosecution of citizens is under the control of the state. Each country will not adopt only one principle of criminal prosecution including Thailand; 4) South Africa and the Federal Republic of Germany are using the state prosecution principles yet still giving victims the right to prosecute, but not too open and subject to various conditions to control, while England currently has an agency to oversee the criminal prosecution of the citizens. Thailand, on the other hand, grants its citizens to prosecute without involvement in the criminal prosecution of the state. | en_US |
Appears in Collections: | Law-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
168809.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 10.89 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License