Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10190
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธัญญรัศม์ วศวรรณวัฒน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวิภาพร ชัยศิริ, 2531--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-10-31T08:41:56Z-
dc.date.available2023-10-31T08:41:56Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10190-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) พฤติกรรมการออมของบุคลากรในสำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน และ (2) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยดึงดูด ปัจจัยผลักดัน และปัจจัยสนับสนุนกับพฤติกรรมการออมของบุคลากรในสำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน การศึกษานี้เป็นการศึกษาเชิงสำรวจ ประชากรที่ศึกษา คือ บุคลากรในสำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน จำนวน 618 คน กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของทาโร่ ยามาเน ได้จำนวน 243 คน และใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบไคสแควร์ ผลการศึกษา พบว่า 1) พฤติกรรมการออมของกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีการออมโดยมีวัตถุประสงค์ในการออมเพื่อใช้จ่ายยามฉุกเฉิน มีรูปแบบการออมแบบเงินฝากธนาคารโดยไม่ได้กำหนดวงเงินการออมที่แน่นอน จำนวนเงินออมเฉลี่ยต่อเดือนไม่เกิน 5,000 บาท มีวิธีการออมแบบไม่ได้กำหนดงวดการออม และมีแนวโน้มการออมเพิ่มขึ้น 2) ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ อายุ ระดับการศึกษา และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน มีความสัมพันธ์กับการกำหนดวงเงินการออมจำนวนเงินออมเฉลี่ยต่อเดือน และวิธีการออม สถานภาพการสมรส มีความสัมพันธ์กับจำนวนเงินออมเฉลี่ยต่อเดือน จำนวนบุตร มีความสัมพันธ์กับจำนวนเงินออมเฉลี่ยต่อเดือน และวิธีการออมส่วนรายจ่ายเฉลี่ยต่อเดือน มีความสัมพันธ์กับการกำหนดวงเงินการออม จำนวนเงินออมเฉลี่ยต่อเดือน วิธีการออม และแนวโน้มการออม ปัจจัยดึงดูดมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการออมด้านวิธีการออม และปัจจัยสนับสนุนมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการออมด้านการกำหนดวงเงินการออม อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน--ข้าราชการและพนักงาน--การเงินส่วนบุคคลth_TH
dc.subjectการออมกับการลงทุนth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleพฤติกรรมการออมของบุคลากรในสำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินth_TH
dc.title.alternativeSaving behavior of personnel in Anti-Money Laundering Officeen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to study ( 1 ) the saving behavior of personnel in Anti - Money Laundering Office; and ( 2 ) the relationship between personal factor, pull factor, push factor and supporting factor, and the saving behavior of personnel in Anti - Money Laundering Office. The population of this survey research consisted of 618 personnel in AntiMoney Laundering Office. The sample of 243 personnel was determined by using Taro Yamane formula, using stratified random sampling. The questionnaire was used as an instrument for collecting the data. The statistics employed for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation and Chi-squared test. The results revealed that 1) most of the sample saved the money for the purpose of emergency with unlimited saving, but their average saving was not more than 5,000 baht per month, with unspecific period of saving, and saving trend was increased; 2) personal factors of age, education level, and income per month was associated with fixing account, average saving per month, and type of saving. The marital status was associated with average saving per month, and number of children was associated with average saving per month and type of saving, while average expenses per month was associated with fixing account, average saving per month, type of saving, and trend of saving. Pull factor was associated with saving behavior, and supporting factor was associated with saving behavior of fixing account with the statistical significance at the level at 0.05en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
162196.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.98 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons